ฮอร์โมนพืช ( Plant Hormone)

ฮอร์โมนพืช คือ สารที่พืชสร้างขึ้นมาเองตามธรรมชาติมักอยู่ในบริเวณอวัยวะหรือเนื้อเยื่อส่วนใดส่วนหนึ่งในพืช สามารถเคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่างๆในพืชเพื่อควบคุมหรือทำการเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆของพืช ในด้าน การเติบโตของพืช การงอกของเมล็ด การออกดอกออกผล และการผลัดใบ เป็นต้น

( ฮอร์โมนพืชมีส่วนในการช่วยการเจริญเติบโต เช่น เมล็ด ออกดอกออกผล การผลัดใบ เป็นต้น )

ฮอร์โมนของพืช จะแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มหลัก คือ

ไซโทไคนิน (Cytokinin)

เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช ซึ่งมีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง

จิบเบอเรลลิน ( Gibberellin )

คือ สารที่ถูกสร้างขึ้นบริเวณเมล็ดที่กำลังงอก ยอดใบอ่อนและราก ส่งผลโดยต่อการเจริญเติบโต ของเซลล์พืช กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ช่วงระหว่างข้อทำให้ต้นยืดยาว กระตุ้นการงอกของเมล็ด การเจริญเติบโตของผล และควบคุมการเกิดเพศในดอกของพืชบางชนิด

ประโยชน์ของจิบเบอเรลลิน

กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งต้น ซึ่งสามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งต้นได้โดยการยืดตัวของเซลล์ และยังสามารถกระตุ้นการเคลื่อนที่ของอาหารในเซลล์สะสมอาหาร หลังจากที่เมล็ดงอกแล้ว

ออกซิน (Auxin)

เป็นฮอร์โมนพืชที่สร้างขึ้นจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อบริเวณยอดใบอ่อน ก่อนถูกลำเลียงไปยังเซลล์เป้าหมาย มีหน้าที่กระตุ้นเซลล์ของเนื้อเยื่อให้เกิดการขยายตัว ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตสูงขึ้นเพิ่มขนาดใบและผล ออกซินยังมีผลต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้าง และยังป้องกันการหลุดร่วงของใบ ดอกและผลอีกทั้งยังส่งผลต่อการควบคุมการเคลื่อนไหวการตอบสนองต่อแสงของพืช

การออกฤทธิ์ของออกซิน

เร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนที่เป็นต้นและราก โดยปกติแล้วส่วนต่างๆของพืชตอบสนองต่อปริมาณออกซินไม่เท่ากัน ยกตัวอย่างเช่น ลำต้นจะต้องการออกซินสูงกว่าราก ท่ามีปริมาณออกซินที่สูงไปก็จะยับยั้งการเติบโตของพืชได้ การเกิดรากแขนง โดยออกซินมาโครงสร้างการทำงานที่สร้างมาจากลำต้น ส่งผลกระตุ้นให้เกิดระบบการทำงานของรากที่ดีขึ้นทำให้เกิดรากแขนง

เอทิลีน (ethylene)

เป็นฮอร์โมนพืชที่มีสภาพเป็นก๊าซที่อุณหภูมิห้อง บทบาทที่สำคัญของเอทิลีนคือควบคุมกระบวนการเติบโตที่เกี่ยวข้องกับความชรา การหลุดร่วงของใบ ดอก ผล (วิกิพีเดีย)

ประโยชน์ของเอทิลีน

1.กระตุ้นการสุกของผลไม้ทำให้ ผลผลิตที่ได้มามีอัตราการสุกที่สม่ำเสมอและไล่เรี่ยกัน
2. เร่งสีของผักหรือผลไม้ ให้สีสันของผลผลิตจะมีความเสมอกันทั้งหมด
3. เร่งการเกิดดอก สำหรับพืชที่ใช้ในการจัดหรือตกแต่งสถานที่ ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้เร็วขึ้น
4. ช่วยเร่งการงอกของเมล็ด ทำให้การเพาะเมล็ดสามารถทำได้ไวยิ่งขึ้น

กรดแอบไซซิก (Abscisic acid)

เป็นฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี มีบทบาทในการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอ การพักตัวของเมล็ดและของตาพืช (วิกิพีเดีย)

ประโยชน์ของกรดแอบไซซิก

1.กระตุ้นการหลุดร่วงของใบและผลที่แก่จัด
2.ยับยั้งการเจริญและการยืดตัวของเซลล์
3. ยับยั้งการเจริญของตาและยอดพืช
4. ยับยั้งการงอกของเมล็ด
5. กระตุ้นปากใบปิดเพื่อลดการคายน้ำ
6. ส่งเสริมให้เกิดการเสื่อมตามอายุ
7.กระตุ้นการพักตัวของพืช
8.กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนที่สะสมในเมล็ด

สรุปการทำงานฮอร์โมนพืช (Plant Hormone)

ไซโทไคนิน (Cytokinin) : เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช

กรดแอบไซซิก (Abscisic acid) : เป็นฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี

ออกซิน (auxin) : มีหน้าที่กระตุ้นเซลล์เนื้อเยื่อให้เกิดการขยายตัวส่งผลให้พืชเจริญเติบโต เช่น ขนาดของใบและผลที่เพิ่มขึ้น

จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) : เป็นสารที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อกระตุ้นการงอกของพืช เช่น กระตุ้นการเติบโตของเมล็ด

เอทิลีน (ethylene) : กระตุ้นการออกดอกออกผลการผลัดใบตามช่วงฤดูกาล

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม-ฮอร์โมนพืช

ฮอร์โมนพืช ( Plant Hormone)

ฮอร์โมนพืช คือ สารที่พืชสร้างขึ้นมาเองตามธรรมชาติมักอยู่ในบริเวณอวัยวะหรือเนื้อเยื่อส่วนใดส่วนหนึ่งในพืช สามารถเคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่างๆในพืชเพื่อควบคุมหรือทำการเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆของพืช ในด้าน การเติบโตของพืช การงอกของเมล็ด การออกดอกออกผล และการผลัดใบ เป็นต้น

( ฮอร์โมนพืชมีส่วนในการช่วยการเจริญเติบโต เช่น เมล็ด ออกดอกออกผล การผลัดใบ เป็นต้น )

ฮอร์โมนของพืช จะแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มหลัก คือ

ไซโทไคนิน (Cytokinin)

เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช ซึ่งมีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง

จิบเบอเรลลิน ( Gibberellin )

คือ สารที่ถูกสร้างขึ้นบริเวณเมล็ดที่กำลังงอก ยอดใบอ่อนและราก ส่งผลโดยต่อการเจริญเติบโต ของเซลล์พืช กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ช่วงระหว่างข้อทำให้ต้นยืดยาว กระตุ้นการงอกของเมล็ด การเจริญเติบโตของผล และควบคุมการเกิดเพศในดอกของพืชบางชนิด

ประโยชน์ของจิบเบอเรลลิน

กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งต้น ซึ่งสามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งต้นได้โดยการยืดตัวของเซลล์ และยังสามารถกระตุ้นการเคลื่อนที่ของอาหารในเซลล์สะสมอาหาร หลังจากที่เมล็ดงอกแล้ว

ออกซิน (Auxin)

เป็นฮอร์โมนพืชที่สร้างขึ้นจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อบริเวณยอดใบอ่อน ก่อนถูกลำเลียงไปยังเซลล์เป้าหมาย มีหน้าที่กระตุ้นเซลล์ของเนื้อเยื่อให้เกิดการขยายตัว ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตสูงขึ้นเพิ่มขนาดใบและผล ออกซินยังมีผลต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้าง และยังป้องกันการหลุดร่วงของใบ ดอกและผลอีกทั้งยังส่งผลต่อการควบคุมการเคลื่อนไหวการตอบสนองต่อแสงของพืช

การออกฤทธิ์ของออกซิน

เร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนที่เป็นต้นและราก โดยปกติแล้วส่วนต่างๆของพืชตอบสนองต่อปริมาณออกซินไม่เท่ากัน ยกตัวอย่างเช่น ลำต้นจะต้องการออกซินสูงกว่าราก ท่ามีปริมาณออกซินที่สูงไปก็จะยับยั้งการเติบโตของพืชได้ การเกิดรากแขนง โดยออกซินมาโครงสร้างการทำงานที่สร้างมาจากลำต้น ส่งผลกระตุ้นให้เกิดระบบการทำงานของรากที่ดีขึ้นทำให้เกิดรากแขนง

เอทิลีน (ethylene)

เป็นฮอร์โมนพืชที่มีสภาพเป็นก๊าซที่อุณหภูมิห้อง บทบาทที่สำคัญของเอทิลีนคือควบคุมกระบวนการเติบโตที่เกี่ยวข้องกับความชรา การหลุดร่วงของใบ ดอก ผล (วิกิพีเดีย)

ประโยชน์ของเอทิลีน

1.กระตุ้นการสุกของผลไม้ทำให้ ผลผลิตที่ได้มามีอัตราการสุกที่สม่ำเสมอและไล่เรี่ยกัน
2. เร่งสีของผักหรือผลไม้ ให้สีสันของผลผลิตจะมีความเสมอกันทั้งหมด
3. เร่งการเกิดดอก สำหรับพืชที่ใช้ในการจัดหรือตกแต่งสถานที่ ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้เร็วขึ้น
4. ช่วยเร่งการงอกของเมล็ด ทำให้การเพาะเมล็ดสามารถทำได้ไวยิ่งขึ้น

กรดแอบไซซิก (Abscisic acid)

เป็นฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี มีบทบาทในการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอ การพักตัวของเมล็ดและของตาพืช (วิกิพีเดีย)

ประโยชน์ของกรดแอบไซซิก

1.กระตุ้นการหลุดร่วงของใบและผลที่แก่จัด
2.ยับยั้งการเจริญและการยืดตัวของเซลล์
3. ยับยั้งการเจริญของตาและยอดพืช
4. ยับยั้งการงอกของเมล็ด
5. กระตุ้นปากใบปิดเพื่อลดการคายน้ำ
6. ส่งเสริมให้เกิดการเสื่อมตามอายุ
7.กระตุ้นการพักตัวของพืช
8.กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนที่สะสมในเมล็ด

สรุปการทำงานฮอร์โมนพืช (Plant Hormone)

ไซโทไคนิน (Cytokinin) : เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช

กรดแอบไซซิก (Abscisic acid) : เป็นฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี

ออกซิน (auxin) : มีหน้าที่กระตุ้นเซลล์เนื้อเยื่อให้เกิดการขยายตัวส่งผลให้พืชเจริญเติบโต เช่น ขนาดของใบและผลที่เพิ่มขึ้น

จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) : เป็นสารที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อกระตุ้นการงอกของพืช เช่น กระตุ้นการเติบโตของเมล็ด

เอทิลีน (ethylene) : กระตุ้นการออกดอกออกผลการผลัดใบตามช่วงฤดูกาล

ฮอร์โมนพืช ( Plant Hormone)

ฮอร์โมนพืช คือ สารที่พืชสร้างขึ้นมาเองตามธรรมชาติมักอยู่ในบริเวณอวัยวะหรือเนื้อเยื่อส่วนใดส่วนหนึ่งในพืช สามารถเคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่างๆในพืชเพื่อควบคุมหรือทำการเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆของพืช ในด้าน การเติบโตของพืช การงอกของเมล็ด การออกดอกออกผล และการผลัดใบ เป็นต้น

( ฮอร์โมนพืชมีส่วนในการช่วยการเจริญเติบโต
เช่น เมล็ด ออกดอกออกผล การผลัดใบ เป็นต้น )

ฮอร์โมนของพืช
จะแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มหลัก คือ

ไซโทไคนิน (Cytokinin)

เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช ซึ่งมีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง

จิบเบอเรลลิน ( Gibberellin )

คือ สารที่ถูกสร้างขึ้นบริเวณเมล็ดที่กำลังงอก ยอดใบอ่อนและราก ส่งผลโดยต่อการเจริญเติบโต ของเซลล์พืช กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ช่วงระหว่างข้อทำให้ต้นยืดยาว กระตุ้นการงอกของเมล็ด การเจริญเติบโตของผล และควบคุมการเกิดเพศในดอกของพืชบางชนิด

ประโยชน์ของจิบเบอเรลลิน

กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งต้น ซึ่งสามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งต้นได้โดยการยืดตัวของเซลล์ และยังสามารถกระตุ้นการเคลื่อนที่ของอาหารในเซลล์สะสมอาหาร หลังจากที่เมล็ดงอกแล้ว

ออกซิน (Auxin)

เป็นฮอร์โมนพืชที่สร้างขึ้นจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อบริเวณยอดใบอ่อน ก่อนถูกลำเลียงไปยังเซลล์เป้าหมาย มีหน้าที่กระตุ้นเซลล์ของเนื้อเยื่อให้เกิดการขยายตัว ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตสูงขึ้นเพิ่มขนาดใบและผล ออกซินยังมีผลต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้าง และยังป้องกันการหลุดร่วงของใบ ดอกและผลอีกทั้งยังส่งผลต่อการควบคุมการเคลื่อนไหวการตอบสนองต่อแสงของพืช

การออกฤทธิ์ของออกซิน

เร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนที่เป็นต้นและราก โดยปกติแล้วส่วนต่างๆของพืชตอบสนองต่อปริมาณออกซินไม่เท่ากัน ยกตัวอย่างเช่น ลำต้นจะต้องการออกซินสูงกว่าราก ท่ามีปริมาณออกซินที่สูงไปก็จะยับยั้งการเติบโตของพืชได้ การเกิดรากแขนง โดยออกซินมาโครงสร้างการทำงานที่สร้างมาจากลำต้น ส่งผลกระตุ้นให้เกิดระบบการทำงานของรากที่ดีขึ้นทำให้เกิดรากแขนง

เอทิลีน (ethylene)

เป็นฮอร์โมนพืชที่มีสภาพเป็นก๊าซที่อุณหภูมิห้อง บทบาทที่สำคัญของเอทิลีนคือควบคุมกระบวนการเติบโตที่เกี่ยวข้องกับความชรา การหลุดร่วงของใบ ดอก ผล (วิกิพีเดีย)

ประโยชน์ของเอทิลีน

1.กระตุ้นการสุกของผลไม้ทำให้ ผลผลิตที่ได้มามีอัตราการสุกที่สม่ำเสมอและไล่เรี่ยกัน
2. เร่งสีของผักหรือผลไม้ ให้สีสันของผลผลิตจะมีความเสมอกันทั้งหมด
3. เร่งการเกิดดอก สำหรับพืชที่ใช้ในการจัดหรือตกแต่งสถานที่ ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้เร็วขึ้น
4. ช่วยเร่งการงอกของเมล็ด ทำให้การเพาะเมล็ดสามารถทำได้ไวยิ่งขึ้น

กรดแอบไซซิก (Abscisic acid)

เป็นฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี มีบทบาทในการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอ การพักตัวของเมล็ดและของตาพืช (วิกิพีเดีย)

ประโยชน์ของกรดแอบไซซิก

1.กระตุ้นการหลุดร่วงของใบและผลที่แก่จัด
2.ยับยั้งการเจริญและการยืดตัวของเซลล์
3. ยับยั้งการเจริญของตาและยอดพืช
4. ยับยั้งการงอกของเมล็ด
5. กระตุ้นปากใบปิดเพื่อลดการคายน้ำ
6. ส่งเสริมให้เกิดการเสื่อมตามอายุ
7.กระตุ้นการพักตัวของพืช
8.กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนที่สะสมในเมล็ด

สรุปการทำงานฮอร์โมนพืช (Plant Hormone)

ไซโทไคนิน (Cytokinin)
เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช

กรดแอบไซซิก (Abscisic acid)
เป็นฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี

ออกซิน (auxin)
มีหน้าที่กระตุ้นเซลล์เนื้อเยื่อให้เกิดการขยายตัวส่งผลให้พืชเจริญเติบโต เช่น ขนาดของใบและผลที่เพิ่มขึ้น

จิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
เป็นสารที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อกระตุ้นการงอกของพืช เช่น กระตุ้นการเติบโตของเมล็ด

เอทิลีน (ethylene)
กระตุ้นการออกดอกออกผลการผลัดใบตามช่วงฤดูกาล

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

13/30 หมู่ที่ 7 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

13/30 หมู่ที่ 7 ตำบลชากไทย

อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี 

22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

จำนวนคนดู: 852