ชั้นดิน

ดิน คือ วัสดุธรรมชาติที่เกิดจากการผุพังของสลายตัวของหินและแร่ รวมถึงการสลายตัวของซากพืชและซากสัตว์จนเกิดจากทับทมกันเป็นชั้นๆ

ดินชั้นบน

โดยดินชั้นบนคือ ดินที่นับจากผิวบนดินลงไปความลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร มีสีที่เข้มเพราะว่ามีฮิวมัสหรือสารอินทรีย์จำนวนมาก รวมไปถึงดินจะมีลักษณะที่ใหญ่ จึงทำให้ดินร่วนซุยเพราะว่ามีช่องว่างระหว่างดินมาก ซึ่งจะทำให้น้ำและอากาศไหลผ่านสะดวก ทำให้เหมาะแก่การเพาะปลูก

ดินชั้นล่าง

จะมีลักษณะสีอ่อนกว่าเพราะสารอินทรีย์น้อย รวมถึงขนาดของเม็ดดินจะขนาดเล็กลง ทำให้ดินแข็งเพราะว่าช่องว่างของดินมีน้อย น้ำและอากาศไหลผ่านได้ยากกว่าชั้นดินด้านบน จึงไม่เหมาะสำหรับการเพาะปลูกเมื่อพูดถึงชั้นดินไปแล้ว เราก็รู้ว่าดินมีทั้งชั้นบนและชั้นล่างแล้วการจำแนกชั้นละ แบ่งได้กี่ชั้น…….ชั้นของดินจำแนกได้เป็น 6 ชั้น โดยแต่ละชั้นอาจจะบางเพียงแค่ 2-3 มิลลิเมตร หรืออาจจะหนากว่า 1 เมตรก็ได้ ดินบางชั้นเกิดจากการพังทลายและการซะล้างโดยกระแสน้ำ ในขณะดินบางชั้นอาจจะเกิดการทับถมกันมาเป็นหลายพันปีก็ได้ 

ดินแบ่งออกเป็นชั้นย่อย ได้ทั้งหมด 5 ชั้น

1. ชั้นอินทรียวัตถุหรือชั้นของผิวดิน 
-เป็นชั้นที่อยู่บนสุดของหน้าดิน มีพืชขึ้นปกคลุม มีเศษใบไม้กิ่งไม้ผุพังทับถม รวมซากสัตว์ที่ตายไปแล้ว ดินชั้นนี้มักมีสีดำหรือสีคล้ำ เนื่องจากประกอบด้วยฮิวมัสและอินทรียวัตถุเป็นส่วนใหญ่ ดินชั้นนี้มีความสมบูรณ์มาก ทำให้เหมาะแก่การเจริญเติบโตของพืช 

2. ชั้นของดินแร่หรือดินชั้นบน
-เป็นชั้นที่ประกอบด้วยอินทรียวัตถุที่สลายตัวผสมกับแร่ธาตุที่อยู่ในชั้นดินอยู่แล้ว ทำให้ชั้นนี้ค่อนข้างมีธาตุอาหารอยู่จำนวนมาก

3. ชั้นสะสมแร่หรือดินชั้นล่าง
-ถือว่าเป็นชั้นหลักของหน้าตัดดิน มักจะหนากว่าชั้นอื่นๆ มีการทับถมที่แน่นขึ้น เนื้อดินจะค่อนข้างละเอียด ถือว่าเป็นชั้นที่ธาตุอาหาร อยู่จำนวนมากเช่นกัน

4. ชั้นของการผุพังของหน้าดิน
-คือชั้นที่เกิดจากการผุพังของหิน ไม่มีการสะสมของอินทรียวัตถุ 

5. ชั้นหินดานหรือชั้นหินพื้น
-เป็นชั้นของหินแข็งชนิดต่างๆ ที่เชื่อมติดกันแน่และอยู่ลงไปลึกที่สุด

ดินแบ่งออกเป็นชั้นย่อย ได้ทั้งหมด 5 ชั้น

ธาตุอาหารหลักในดิน ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ซึ่งเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการในปริมาณมาก ดังนั้น ในดินธรรมชาติ ธาตุทั้ง 3 มักมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ส่งผลให้ในการผลิตปุ๋ยชนิดต่าง ๆ เพื่อการเกษตร มีธาตุทั้ง 3 เป็นแกนหลักในการเร่งผลผลิตและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช

ธาตุอาหารรองในดิน ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และกำมะถัน (S) ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่พืชต้องการรองลงมาจากธาตุอาหารหลัก โดยทั่วไป ธาตุเหล่านี้ในดินธรรมชาติมักมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของพืช ( อ้างอิง https://ngthai.com/ )

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม-ดิน ราก

ชั้นดิน

ดิน คือ วัสดุธรรมชาติที่เกิดจากการผุพังของสลายตัวของหินและแร่ รวมถึงการสลายตัวของซากพืชและซากสัตว์จนเกิดจากทับทมกันเป็นชั้นๆ

ดินชั้นบน

โดยดินชั้นบนคือ ดินที่นับจากผิวบนดินลงไปความลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร มีสีที่เข้มเพราะว่ามีฮิวมัสหรือสารอินทรีย์จำนวนมาก รวมไปถึงดินจะมีลักษณะที่ใหญ่ จึงทำให้ดินร่วนซุยเพราะว่ามีช่องว่างระหว่างดินมาก ซึ่งจะทำให้น้ำและอากาศไหลผ่านสะดวก ทำให้เหมาะแก่การเพาะปลูก

ดินชั้นล่าง

จะมีลักษณะสีอ่อนกว่าเพราะสารอินทรีย์น้อย รวมถึงขนาดของเม็ดดินจะขนาดเล็กลง ทำให้ดินแข็งเพราะว่าช่องว่างของดินมีน้อย น้ำและอากาศไหลผ่านได้ยากกว่าชั้นดินด้านบน จึงไม่เหมาะสำหรับการเพาะปลูกเมื่อพูดถึงชั้นดินไปแล้ว เราก็รู้ว่าดินมีทั้งชั้นบนและชั้นล่างแล้วการจำแนกชั้นละ แบ่งได้กี่ชั้น…….ชั้นของดินจำแนกได้เป็น 6 ชั้น โดยแต่ละชั้นอาจจะบางเพียงแค่ 2-3 มิลลิเมตร หรืออาจจะหนากว่า 1 เมตรก็ได้ ดินบางชั้นเกิดจากการพังทลายและการซะล้างโดยกระแสน้ำ ในขณะดินบางชั้นอาจจะเกิดการทับถมกันมาเป็นหลายพันปีก็ได้ 

ดินแบ่งออกเป็นชั้นย่อย ได้ทั้งหมด 5 ชั้น

1. ชั้นอินทรียวัตถุหรือชั้นของผิวดิน 
-เป็นชั้นที่อยู่บนสุดของหน้าดิน มีพืชขึ้นปกคลุม มีเศษใบไม้กิ่งไม้ผุพังทับถม รวมซากสัตว์ที่ตายไปแล้ว ดินชั้นนี้มักมีสีดำหรือสีคล้ำ เนื่องจากประกอบด้วยฮิวมัสและอินทรียวัตถุเป็นส่วนใหญ่ ดินชั้นนี้มีความสมบูรณ์มาก ทำให้เหมาะแก่การเจริญเติบโตของพืช 

2. ชั้นของดินแร่หรือดินชั้นบน
-เป็นชั้นที่ประกอบด้วยอินทรียวัตถุที่สลายตัวผสมกับแร่ธาตุที่อยู่ในชั้นดินอยู่แล้ว ทำให้ชั้นนี้ค่อนข้างมีธาตุอาหารอยู่จำนวนมาก

3. ชั้นสะสมแร่หรือดินชั้นล่าง
-ถือว่าเป็นชั้นหลักของหน้าตัดดิน มักจะหนากว่าชั้นอื่นๆ มีการทับถมที่แน่นขึ้น เนื้อดินจะค่อนข้างละเอียด ถือว่าเป็นชั้นที่ธาตุอาหาร อยู่จำนวนมากเช่นกัน

4. ชั้นของการผุพังของหน้าดิน
-คือชั้นที่เกิดจากการผุพังของหิน ไม่มีการสะสมของอินทรียวัตถุ 

5. ชั้นหินดานหรือชั้นหินพื้น
-เป็นชั้นของหินแข็งชนิดต่างๆ ที่เชื่อมติดกันแน่และอยู่ลงไปลึกที่สุด

ดินแบ่งออกเป็นชั้นย่อย ได้ทั้งหมด 5 ชั้น

ธาตุอาหารหลักในดิน ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ซึ่งเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการในปริมาณมาก ดังนั้น ในดินธรรมชาติ ธาตุทั้ง 3 มักมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ส่งผลให้ในการผลิตปุ๋ยชนิดต่าง ๆ เพื่อการเกษตร มีธาตุทั้ง 3 เป็นแกนหลักในการเร่งผลผลิตและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช

ธาตุอาหารรองในดิน ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และกำมะถัน (S) ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่พืชต้องการรองลงมาจากธาตุอาหารหลัก โดยทั่วไป ธาตุเหล่านี้ในดินธรรมชาติมักมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของพืช ( อ้างอิง https://ngthai.com/ )

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

จำนวนคนดู: 794