เชื้อราไฟทอปธอร่า (phytophthora)

โรครากเน่าโคนเน่า 

รากเน่าโคนเน่า คือ อาการเน่าที่เกิดขึ้นได้ทุกส่วนของต้น ไม่ว่าจะเป็น ราก โคน กิ่งหรือลำต้น เกิดขึ้นได้ได้ง่าย ผิวเปลือกของส่วนที่โคนเชื้อราเข้าทำลายจะเห็นได้ชัดว่า มีอาการผิวเปลือกฉ่ำน้ำและมีอาการสีคล้ำขึ้นหรือเป็นสีน้ำตาลเข้มขึ้น เชื้อราสามารถลุกลามได้เร็วแพร่ระบาดได้ทั้งทางดิน ทางน้ำ หรืออากาศ เมื่อเชื้อราลุกลามและไม่มีการแก้ไขจะทำให้ยืนต้นตาย ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเชื้อราเข้าทำลายส่วนบริเวณราก รากจะไม่สามารถดูดซึมอาหารมาใช้ได้ทำให้ต้นขาดอาหารและไม่สามารถดูดซึมอาหารมาเลี้ยงตัวเองได้และตายในที่สุด

ลักษณะอาการของโรคเน่าโคนเน่าในทุเรียน

ลักษณะอาการของโรครากเน่าโคนเน่า เกิดขึ้นได้ทั่วบริเวณต้น อย่างที่กล่าวมาข้างต้น อาการที่เห็นได้จะมีน้ำเยิ้มออกมาสีของต้นจะคล้ำขึ้นเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มเห็นได้ชัดเจน เมื่อเช้าราเจริญและลุกลามไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้น ทำให้ใบร่วงเหลืองซีดและเมื่อเชื้อราเข้าถึงระบบท่ออาหารภายในลำต้นทำให้ไม่สามารถลำเลี้ยงอาหารไปเลี้ยงตัวเองได้ส่งผลให้ต้นขาดอาหารและตายในที่สุด
อาการเชื้อราเข้าลุกลามส่วนต่าง ๆ จะแสดงอากาารดังนี้

ราก - ลักษณะอาการเน่าที่เกิดกับรากเล็กหรือรากฝอยนั้น เนื้อเยื่อ รากจะเปื่อยยุ่ย เมื่อดึงเบาๆ จะขาดออกจากกันได้ง่าย

ลำต้น - ลักษณะอาการอาการต้นทุเรียนแห้ง ในช่วงเช้าที่มีอากาศชุ่มชื้นจะมองเห็นหยดน้ำยางสีน้ำตาลแดงไหลออกมาจากรอย
แผลแตกของลำต้น และน้ำยางนี้จะค่อยๆ แห้งไปในช่วงกลางวันที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบน้ำจับ
บนเปลือกของลำต้น

กิ่ง - ลักษณะอาการจะแห้งในช่วงเช้าที่มีอากาศชุ้มชื้นจะเห็นหยดน้ำยางสีแดงไหลออกมาจากรอยแผลของกิ่ง
และน้ำยางนี้จะค่อยๆ แห้งไปในช่วงกลางวันที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบน้ำจับบนเปลือกของกิ่ง

ใบ - เมื่อพบใบเสียหายจากโรค 10 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ใบทั้งต้น อาการใบช้ำดำตายนึ่งคล้ายน้ำร้อนลวก แสดงอาการเฉียบพลันภายใน 3 วัน ใบจะไหม้แห้งติดอยู่กับต้นไม่หลุดร่วง

การแพร่ระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า 

เชื้อราไฟทอปธอร่าเป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินและยังทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง แต่เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมหรือมีอาหารสะสมที่เพียงพอ เชื้อราจะขยายพันธุ์และสร้างเส้นใยเข้าไปตามระบบรากพืชและพัฒนาสร้างเส้นใยขยายตัวภายในพืชทำให้ระบบโครงสร้างของรากทุเรียนเน่า ในสภาวะที่มีความชื้นสูงและฝนตกชุก เชื้อราจะแพร่โดยการกระเซ็นไปยังบริเวณโคนต้นหรือบริเวณต้นทุเรียนที่อยู่รอบๆ ถ้าเชื้อราอยู่ที่บริเวณใบก็จะกระเซ็นติดกันได้  อุณหภูมิก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เชื้อราไฟทอปธอร่าเจริญได้ดีในอุณหภูมิ 11-35 องศาเซลเซียส แต่อุณหภูมิที่เชื้อราเจริญได้ดีและขยายเชื้อราจะอยู่ที่ 27.5 - 30 องศาเซลเซียส

โรครากเน่าโคนเน่า 

รากเน่าโคนเน่า คือ อาการเน่าที่เกิดขึ้นได้ทุกส่วนของต้น ไม่ว่าจะเป็น ราก โคน กิ่งหรือลำต้น เกิดขึ้นได้ได้ง่าย ผิวเปลือกของส่วนที่โคนเชื้อราเข้าทำลายจะเห็นได้ชัดว่า มีอาการผิวเปลือกฉ่ำน้ำและมีอาการสีคล้ำขึ้นหรือเป็นสีน้ำตาลเข้มขึ้น เชื้อราสามารถลุกลามได้เร็วแพร่ระบาดได้ทั้งทางดิน ทางน้ำ หรืออากาศ เมื่อเชื้อราลุกลามและไม่มีการแก้ไขจะทำให้ยืนต้นตาย ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเชื้อราเข้าทำลายส่วนบริเวณราก รากจะไม่สามารถดูดซึมอาหารมาใช้ได้ทำให้ต้นขาดอาหารและไม่สามารถดูดซึมอาหารมาเลี้ยงตัวเองได้และตายในที่สุด

ลักษณะอาการของโรคเน่าโคนเน่าในทุเรียน

ลักษณะอาการของโรครากเน่าโคนเน่า เกิดขึ้นได้ทั่วบริเวณต้น อย่างที่กล่าวมาข้างต้น อาการที่เห็นได้จะมีน้ำเยิ้มออกมาสีของต้นจะคล้ำขึ้นเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มเห็นได้ชัดเจน เมื่อเช้าราเจริญและลุกลามไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้น ทำให้ใบร่วงเหลืองซีดและเมื่อเชื้อราเข้าถึงระบบท่ออาหารภายในลำต้นทำให้ไม่สามารถลำเลี้ยงอาหารไปเลี้ยงตัวเองได้ส่งผลให้ต้นขาดอาหารและตายในที่สุด
อาการเชื้อราเข้าลุกลามส่วนต่าง ๆ จะแสดงอากาารดังนี้

ราก - ลักษณะอาการเน่าที่เกิดกับรากเล็กหรือรากฝอยนั้น เนื้อเยื่อ รากจะเปื่อยยุ่ย เมื่อดึงเบาๆ จะขาดออกจากกันได้ง่าย

ลำต้น - ลักษณะอาการอาการต้นทุเรียนแห้ง ในช่วงเช้าที่มีอากาศชุ่มชื้นจะมองเห็นหยดน้ำยางสีน้ำตาลแดงไหลออกมาจากรอย
แผลแตกของลำต้น และน้ำยางนี้จะค่อยๆ แห้งไปในช่วงกลางวันที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบน้ำจับ
บนเปลือกของลำต้น

กิ่ง - ลักษณะอาการจะแห้งในช่วงเช้าที่มีอากาศชุ้มชื้นจะเห็นหยดน้ำยางสีแดงไหลออกมาจากรอยแผลของกิ่ง
และน้ำยางนี้จะค่อยๆ แห้งไปในช่วงกลางวันที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบน้ำจับบนเปลือกของกิ่ง

ใบ - เมื่อพบใบเสียหายจากโรค 10 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ใบทั้งต้น อาการใบช้ำดำตายนึ่งคล้ายน้ำร้อนลวก แสดงอาการเฉียบพลันภายใน 3 วัน ใบจะไหม้แห้งติดอยู่กับต้นไม่หลุดร่วง

การแพร่ระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า 

เชื้อราไฟทอปธอร่าเป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินและยังทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง แต่เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมหรือมีอาหารสะสมที่เพียงพอ เชื้อราจะขยายพันธุ์และสร้างเส้นใยเข้าไปตามระบบรากพืชและพัฒนาสร้างเส้นใยขยายตัวภายในพืชทำให้ระบบโครงสร้างของรากทุเรียนเน่า ในสภาวะที่มีความชื้นสูงและฝนตกชุก เชื้อราจะแพร่โดยการกระเซ็นไปยังบริเวณโคนต้นหรือบริเวณต้นทุเรียนที่อยู่รอบๆ ถ้าเชื้อราอยู่ที่บริเวณใบก็จะกระเซ็นติดกันได้  อุณหภูมิก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เชื้อราไฟทอปธอร่าเจริญได้ดีในอุณหภูมิ 11-35 องศาเซลเซียส แต่อุณหภูมิที่เชื้อราเจริญได้ดีและขยายเชื้อราจะอยู่ที่ 27.5 - 30 องศาเซลเซียส

โรครากเน่าโคนเน่า 

รากเน่าโคนเน่า คือ อาการเน่าที่เกิดขึ้นได้ทุกส่วนของต้น ไม่ว่าจะเป็น ราก โคน กิ่งหรือลำต้น เกิดขึ้นได้ได้ง่าย ผิวเปลือกของส่วนที่โคนเชื้อราเข้าทำลายจะเห็นได้ชัดว่า มีอาการผิวเปลือกฉ่ำน้ำและมีอาการสีคล้ำขึ้นหรือเป็นสีน้ำตาลเข้มขึ้น เชื้อราสามารถลุกลามได้เร็วแพร่ระบาดได้ทั้งทางดิน ทางน้ำ หรืออากาศ เมื่อเชื้อราลุกลามและไม่มีการแก้ไขจะทำให้ยืนต้นตาย ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเชื้อราเข้าทำลายส่วนบริเวณราก รากจะไม่สามารถดูดซึมอาหารมาใช้ได้ทำให้ต้นขาดอาหารและไม่สามารถดูดซึมอาหารมาเลี้ยงตัวเองได้และตายในที่สุด

ลักษณะอาการของโรคเน่าโคนเน่าในทุเรียน

ลักษณะอาการของโรครากเน่าโคนเน่า เกิดขึ้นได้ทั่วบริเวณต้น อย่างที่กล่าวมาข้างต้น อาการที่เห็นได้จะมีน้ำเยิ้มออกมาสีของต้นจะคล้ำขึ้นเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มเห็นได้ชัดเจน เมื่อเช้าราเจริญและลุกลามไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้น ทำให้ใบร่วงเหลืองซีดและเมื่อเชื้อราเข้าถึงระบบท่ออาหารภายในลำต้นทำให้ไม่สามารถลำเลี้ยงอาหารไปเลี้ยงตัวเองได้ส่งผลให้ต้นขาดอาหารและตายในที่สุด
อาการเชื้อราเข้าลุกลามส่วนต่าง ๆ จะแสดงอากาารดังนี้

ราก - ลักษณะอาการเน่าที่เกิดกับรากเล็กหรือรากฝอยนั้น เนื้อเยื่อ รากจะเปื่อยยุ่ย เมื่อดึงเบาๆ จะขาดออกจากกันได้ง่าย

ลำต้น - ลักษณะอาการอาการต้นทุเรียนแห้ง ในช่วงเช้าที่มีอากาศชุ่มชื้นจะมองเห็นหยดน้ำยางสีน้ำตาลแดงไหลออกมาจากรอย
แผลแตกของลำต้น และน้ำยางนี้จะค่อยๆ แห้งไปในช่วงกลางวันที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบน้ำจับ
บนเปลือกของลำต้น

กิ่ง - ลักษณะอาการจะแห้งในช่วงเช้าที่มีอากาศชุ้มชื้นจะเห็นหยดน้ำยางสีแดงไหลออกมาจากรอยแผลของกิ่ง
และน้ำยางนี้จะค่อยๆ แห้งไปในช่วงกลางวันที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบน้ำจับบนเปลือกของกิ่ง

ใบ - เมื่อพบใบเสียหายจากโรค 10 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่ใบทั้งต้น อาการใบช้ำดำตายนึ่งคล้ายน้ำร้อนลวก แสดงอาการเฉียบพลันภายใน 3 วัน ใบจะไหม้แห้งติดอยู่กับต้นไม่หลุดร่วง

การแพร่ระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า 

เชื้อราไฟทอปธอร่าเป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินและยังทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง แต่เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมหรือมีอาหารสะสมที่เพียงพอ เชื้อราจะขยายพันธุ์และสร้างเส้นใยเข้าไปตามระบบรากพืชและพัฒนาสร้างเส้นใยขยายตัวภายในพืชทำให้ระบบโครงสร้างของรากทุเรียนเน่า ในสภาวะที่มีความชื้นสูงและฝนตกชุก เชื้อราจะแพร่โดยการกระเซ็นไปยังบริเวณโคนต้นหรือบริเวณต้นทุเรียนที่อยู่รอบๆ ถ้าเชื้อราอยู่ที่บริเวณใบก็จะกระเซ็นติดกันได้  อุณหภูมิก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เชื้อราไฟทอปธอร่าเจริญได้ดีในอุณหภูมิ 11-35 องศาเซลเซียส แต่อุณหภูมิที่เชื้อราเจริญได้ดีและขยายเชื้อราจะอยู่ที่ 27.5 - 30 องศาเซลเซียส

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

จำนวนคนดู: 923