โรคใบจุด ใบไหม้ หรือโรคแอนแทรคโนส
(Leaf Spot/Leaf Blight/Anthracnose)

เชื้อรา Colltorichum gloeospiodes

โรคใบจุด ใบไหม้ หรือโรคแอนแทรคโนส
(Leaf Spot/Leaf Blight/Anthracnose)

เชื้อรา Colltorichum gloeospiodes

โรคใบจุด ใบไหม้ หรือโรคแอนแทรคโนส
(Leaf Spot/Leaf Blight/Anthracnose)

เชื้อรา Colltorichum gloeospiodes

ความสำคัญ

เป็นโรคที่เกิดในช่วงใบอ่อนหรือช่วงที่พืชอ่อนแอ เช่น ในสภาพพื้นที่ขาดน้ำในฤดูแล้ง โดยเฉพาะในช่วงติดผลของทุเรียน

การแพร่ระบาดของเชื้อรา

โดยปกติแล้วเชื้อราสาเหตุของโรคจะอาศัยอยู่ในเศษซากใบทุเรียนที่หล่นลงมาอยู่บริเวณใต้โคนทุเรียน เมื่อเวลาฝนตกเชื้อราจะกระเด็นและสามารถติดกันได้ เมื่อเชื้อราเข้าทำงานที่ใบแล้วจะสร้างเส้นใยลุกลามและแพร่กระจายขยายพันธุ์ไปยังส่วนต่างๆของพืช

สาเหตุเชื้อราก่อโรค

เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

การป้องกันกำจัด

ควรตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้มีความเหมาะสมให้จำนวนกิ่งไม่หนาแน่จนเกินไป เพื่อไม่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของเชื้อรา ในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อนควรหมั่นสำรวจอาการของโรค หากพบโรคควรตัดกิ่งที่เป็นโรคออก และรวบรวมเศษใบเป็นโรคที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น แล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูกให้น้อยลง

ความสำคัญ

เป็นโรคที่เกิดในช่วงใบอ่อนหรือช่วงที่พืชอ่อนแอ เช่น ในสภาพพื้นที่ขาดน้ำในฤดูแล้ง โดยเฉพาะในช่วงติดผลของทุเรียน

การแพร่ระบาดของเชื้อรา

โดยปกติแล้วเชื้อราสาเหตุของโรคจะอาศัยอยู่ในเศษซากใบทุเรียนที่หล่นลงมาอยู่บริเวณใต้โคนทุเรียน เมื่อเวลาฝนตกเชื้อราจะกระเด็นและสามารถติดกันได้ เมื่อเชื้อราเข้าทำงานที่ใบแล้วจะสร้างเส้นใยลุกลามและแพร่กระจายขยายพันธุ์ไปยังส่วนต่างๆของพืช

สาเหตุเชื้อราก่อโรค

เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

การป้องกันกำจัด

ควรตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้มีความเหมาะสมให้จำนวนกิ่งไม่หนาแน่จนเกินไป เพื่อไม่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของเชื้อรา ในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อนควรหมั่นสำรวจอาการของโรค หากพบโรคควรตัดกิ่งที่เป็นโรคออก และรวบรวมเศษใบเป็นโรคที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น แล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูกให้น้อยลง

ความสำคัญ

เป็นโรคที่เกิดในช่วงใบอ่อนหรือช่วงที่พืชอ่อนแอ เช่น ในสภาพพื้นที่ขาดน้ำในฤดูแล้ง โดยเฉพาะในช่วงติดผลของทุเรียน

การแพร่ระบาดของเชื้อรา

โดยปกติแล้วเชื้อราสาเหตุของโรคจะอาศัยอยู่ในเศษซากใบทุเรียนที่หล่นลงมาอยู่บริเวณใต้โคนทุเรียน เมื่อเวลาฝนตกเชื้อราจะกระเด็นและสามารถติดกันได้ เมื่อเชื้อราเข้าทำงานที่ใบแล้วจะสร้างเส้นใยลุกลามและแพร่กระจายขยายพันธุ์ไปยังส่วนต่างๆของพืช

สาเหตุเชื้อราก่อโรค

เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

การป้องกันกำจัด

ควรตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้มีความเหมาะสมให้จำนวนกิ่งไม่หนาแน่จนเกินไป เพื่อไม่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของเชื้อรา ในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อนควรหมั่นสำรวจอาการของโรค หากพบโรคควรตัดกิ่งที่เป็นโรคออก และรวบรวมเศษใบเป็นโรคที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น แล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณเชื้อโรคในแปลงปลูกให้น้อยลง

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

จำนวนคนดู: 863