โรคจุดสนิมทุเรียน (Agal spot)

โรคจุดสนิมทุเรียน หรือ จุดสาหร่าย คือ อาการโรคที่เกิดจาก สร่าย Cephaleuros virescens Kunze

โรคจุดสนิมทุเรียน (Agal spot)

โรคจุดสนิมทุเรียน หรือ จุดสาหร่าย คือ อาการโรคที่เกิดจาก สร่าย Cephaleuros virescens Kunze

โรคจุดสนิมทุเรียน หรือ จุดสาหร่าย คือ อาการโรคที่เกิดจาก สาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze โดยจะมีอาการคือ ใบแก่ของทุเรียนจะมีจุดฟูเขียวแกมเหลืองของสาหร่าย เกิดกระจายบนใบทุเรียน และจุดจะพัฒนาแพร่ขยายวงกว้างออกไปและเปลี่ยนสีเหลืองแกมส้มซึ่งในช่วงนี้ที่ระยะเปลี่ยนสีจะเป็นช่วงของการขยายพันธ์ุและกระจายตัวของเชื้อราก่อโรค

อ้างอิง https://www.ipmimages.org/

สาเหตุของเชื้อราก่อโรค

เกิดจาก สาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze

อ้างอิง https://www.ipmimages.org/

ลักษณะอาการ โรคจุดสนิมทุเรียน

มักเกิดกับใบทุเรียนช่วงระยะใบแก่ อาการเริ่มแรกพบสาหร่ายเป็นจุดเล็ก ๆ สีเขียวปนเทา ขอบไม่เรียบ นูนขึ้นจากผิวใบเล็กน้อย ในสภาพอากาศที่ความชื้นสูงและได้รับแสงแดดที่เพียงพอใบจุดสาหร่ายจะพัฒนาขยายขนาดขึ้น มีสีคล้ายกับสนิมหรือสีน้ำตาลอมแดง ลักษณะฟูเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ กระจายได้ทั่วบริเวณใบ ที่ผิวด้านล่างของใบบริเวณตรงข้ามจุดนูนจะมีสีซีดหากพบการระบาดที่รุนแรงใบมีจุดสาหร่ายจำนวนมากและมีอาการซีดเหลือง และแห้งตายโรคที่เกิดบนใบไม่ทำให้ทุเรียนเสียหายมากเพียงแต่ส่งผลบังพื้นที่การสังเคราะห์แสง ทำให้การสังเคราะห์แสงลดลง นอกจากนี้ยังพบอาการของโรคได้บริเวณส่วนของก้านและกิ่ง หากอาการรุนแรงบริเวณที่ถูกทำลายเปลือกจะแตกและแห้งทำให้กิ่งแห้งและต้นทรุดโทรม

การแพร่ระบาดของเชื้อราก่อโรค

เชื้อราสาหร่ายจะแพร่บาดไปกับลมและพายุฝน สามารถเข้าทำลายในช่วงสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง นอกจากนี้ น้ำก็มีส่วนเป็นตัวการในการแพร่เชื้อหรือเป็นพาหะนำสปอร์ไปติดกับต้นอื่นได้ จะพบการแพร่ระบาดได้ทั่วไปในสวนทุเรียนที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือพบได้ที่ต้นทุเรียนที่มีทรงหนาทึบ โดยหลักๆ แล้วการก่อตัวของเชื้อราจะมาจากอากาศที่มีความชุ่มชื้นสูงเป็นระยะเวลานานๆ ซึ่งมาจากช่วงฤดูฝน

แนวทางการจัดการ โรคจุดสนิมทุเรียน

1.ตัดแต่งกิ่งให้แสงแดดส่องทั่วทรงพุ่ม เพื่อลดความชื้นภายในทรงพุ่ม เพราะจุดสาหร่ายสามารถก่อโรคได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้น
2.ตัดแต่งทรงพุ่มของต้นทุเรียนให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก แสงแดดส่องทั่วถึงป้องกันการเกิดเชื้อเราก่อโรค
3.เก็บรวบรวมใบที่เป็นโรคและร่วงหล่นอยู่ในบริเวณสวนไปเผาทำลาย เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราก่อโรคซ้ำ
4.ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลาย เพื่อป้องกันและยับยั้งการเกิดเชื้อราก่อโรคซ้ำ

อ้างอิง

https://kasetgo.com

https://www.ipmimages.org/search/action.cfm?q=Cephaleuros+virescens+Kunze

โรคจุดสนิมทุเรียน หรือ จุดสาหร่าย คือ อาการโรคที่เกิดจาก สาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze โดยจะมีอาการคือ ใบแก่ของทุเรียนจะมีจุดฟูเขียวแกมเหลืองของสาหร่าย เกิดกระจายบนใบทุเรียน และจุดจะพัฒนาแพร่ขยายวงกว้างออกไปและเปลี่ยนสีเหลืองแกมส้มซึ่งในช่วงนี้ที่ระยะเปลี่ยนสีจะเป็นช่วงของการขยายพันธ์ุและกระจายตัวของเชื้อราก่อโรค

อ้างอิง https://www.ipmimages.org/

สาเหตุของเชื้อราก่อโรค

เกิดจาก สาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze

อ้างอิง https://www.ipmimages.org/

ลักษณะอาการ โรคจุดสนิมทุเรียน

มักเกิดกับใบทุเรียนช่วงระยะใบแก่ อาการเริ่มแรกพบสาหร่ายเป็นจุดเล็ก ๆ สีเขียวปนเทา ขอบไม่เรียบ นูนขึ้นจากผิวใบเล็กน้อย ในสภาพอากาศที่ความชื้นสูงและได้รับแสงแดดที่เพียงพอใบจุดสาหร่ายจะพัฒนาขยายขนาดขึ้น มีสีคล้ายกับสนิมหรือสีน้ำตาลอมแดง ลักษณะฟูเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ กระจายได้ทั่วบริเวณใบ ที่ผิวด้านล่างของใบบริเวณตรงข้ามจุดนูนจะมีสีซีดหากพบการระบาดที่รุนแรงใบมีจุดสาหร่ายจำนวนมากและมีอาการซีดเหลือง และแห้งตายโรคที่เกิดบนใบไม่ทำให้ทุเรียนเสียหายมากเพียงแต่ส่งผลบังพื้นที่การสังเคราะห์แสง ทำให้การสังเคราะห์แสงลดลง นอกจากนี้ยังพบอาการของโรคได้บริเวณส่วนของก้านและกิ่ง หากอาการรุนแรงบริเวณที่ถูกทำลายเปลือกจะแตกและแห้งทำให้กิ่งแห้งและต้นทรุดโทรม

การแพร่ระบาดของเชื้อราก่อโรค

เชื้อราสาหร่ายจะแพร่บาดไปกับลมและพายุฝน สามารถเข้าทำลายในช่วงสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง นอกจากนี้ น้ำก็มีส่วนเป็นตัวการในการแพร่เชื้อหรือเป็นพาหะนำสปอร์ไปติดกับต้นอื่นได้ จะพบการแพร่ระบาดได้ทั่วไปในสวนทุเรียนที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือพบได้ที่ต้นทุเรียนที่มีทรงหนาทึบ โดยหลักๆ แล้วการก่อตัวของเชื้อราจะมาจากอากาศที่มีความชุ่มชื้นสูงเป็นระยะเวลานานๆ ซึ่งมาจากช่วงฤดูฝน

แนวทางการจัดการ โรคจุดสนิมทุเรียน

1.ตัดแต่งกิ่งให้แสงแดดส่องทั่วทรงพุ่ม เพื่อลดความชื้นภายในทรงพุ่ม เพราะจุดสาหร่ายสามารถก่อโรคได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้น
2.ตัดแต่งทรงพุ่มของต้นทุเรียนให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก แสงแดดส่องทั่วถึงป้องกันการเกิดเชื้อเราก่อโรค
3.เก็บรวบรวมใบที่เป็นโรคและร่วงหล่นอยู่ในบริเวณสวนไปเผาทำลาย เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราก่อโรคซ้ำ
4.ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลาย เพื่อป้องกันและยับยั้งการเกิดเชื้อราก่อโรคซ้ำ

อ้างอิง

https://kasetgo.com

https://www.ipmimages.org/search/action.cfm?q=Cephaleuros+virescens+Kunze

โรคจุดสนิมทุเรียน หรือ จุดสาหร่าย คือ อาการโรคที่เกิดจาก สาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze โดยจะมีอาการคือ ใบแก่ของทุเรียนจะมีจุดฟูเขียวแกมเหลืองของสาหร่าย เกิดกระจายบนใบทุเรียน และจุดจะพัฒนาแพร่ขยายวงกว้างออกไปและเปลี่ยนสีเหลืองแกมส้มซึ่งในช่วงนี้ที่ระยะเปลี่ยนสีจะเป็นช่วงของการขยายพันธ์ุและกระจายตัวของเชื้อราก่อโรค

อ้างอิง https://www.ipmimages.org/

สาเหตุของเชื้อราก่อโรค

เกิดจากสาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze

อ้างอิง https://www.ipmimages.org/

ลักษณะอาการ โรคจุดสนิมทุเรียน

มักเกิดกับใบทุเรียนช่วงระยะใบแก่ อาการเริ่มแรกพบสาหร่ายเป็นจุดเล็ก ๆ สีเขียวปนเทา ขอบไม่เรียบ นูนขึ้นจากผิวใบเล็กน้อย ในสภาพอากาศที่ความชื้นสูงและได้รับแสงแดดที่เพียงพอใบจุดสาหร่ายจะพัฒนาขยายขนาดขึ้น มีสีคล้ายกับสนิมหรือสีน้ำตาลอมแดง ลักษณะฟูเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ กระจายได้ทั่วบริเวณใบ ที่ผิวด้านล่างของใบบริเวณตรงข้ามจุดนูนจะมีสีซีดหากพบการระบาดที่รุนแรงใบมีจุดสาหร่ายจำนวนมากและมีอาการซีดเหลือง และแห้งตายโรคที่เกิดบนใบไม่ทำให้ทุเรียนเสียหายมากเพียงแต่ส่งผลบังพื้นที่การสังเคราะห์แสง ทำให้การสังเคราะห์แสงลดลง นอกจากนี้ยังพบอาการของโรคได้บริเวณส่วนของก้านและกิ่ง หากอาการรุนแรงบริเวณที่ถูกทำลายเปลือกจะแตกและแห้งทำให้กิ่งแห้งและต้นทรุดโทรม

การแพร่ระบาดของเชื้อราก่อโรค

เชื้อราสาหร่ายจะแพร่บาดไปกับลมและพายุฝน สามารถเข้าทำลายในช่วงสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง นอกจากนี้ น้ำก็มีส่วนเป็นตัวการในการแพร่เชื้อหรือเป็นพาหะนำสปอร์ไปติดกับต้นอื่นได้ จะพบการแพร่ระบาดได้ทั่วไปในสวนทุเรียนที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือพบได้ที่ต้นทุเรียนที่มีทรงหนาทึบ โดยหลักๆ แล้วการก่อตัวของเชื้อราจะมาจากอากาศที่มีความชุ่มชื้นสูงเป็นระยะเวลานานๆ ซึ่งมาจากช่วงฤดูฝน

แนวทางการจัดการ โรคจุดสนิมทุเรียน

1.ตัดแต่งกิ่งให้แสงแดดส่องทั่วทรงพุ่ม เพื่อลดความชื้นภายในทรงพุ่ม เพราะจุดสาหร่ายสามารถก่อโรคได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้น
2.ตัดแต่งทรงพุ่มของต้นทุเรียนให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก แสงแดดส่องทั่วถึงป้องกันการเกิดเชื้อเราก่อโรค
3.เก็บรวบรวมใบที่เป็นโรคและร่วงหล่นอยู่ในบริเวณสวนไปเผาทำลาย เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราก่อโรคซ้ำ
4.ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลาย เพื่อป้องกันและยับยั้งการเกิดเชื้อราก่อโรคซ้ำ

อ้างอิง

https://kasetgo.com

https://www.ipmimages.org/search/action.cfm?q=Cephaleuros+virescens+Kunze

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

จำนวนคนดู: 520