โรคแอนแทรคโนส 

โรคใบไหม้หรือโรคใบจุด หรือ โรคแอนแทรคโนส (Leaf blight, Leaf spot, Anthracnose)

คือ โรคที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides จะเกิดในระยะที่ใบอ่อนแผ่กลางเต็มที่แล้ว ลักษณะอาการจะมีสีเหลืองซีดจาง หรืออาจจะเกิดจุดเล็กๆมีสีเหลืองอ่อนหรือสีที่เข้มตามระยะเวลาของอาการเชื้อรา และเมื่ออาการลุกลามเชื้อราเจริญเติบโตมากขึ้น ขอบแผลจะมีลักษณะเป็นสีน้ำตาล ส่วนตรงกลางของแผลจะแห้งและเป็นสีน้ำตาลในระยะเวลาต่อมา

สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

อาการของโรคแอนแทรคโนส

ในระยะที่ใบอ่อนกลางเต็มที่แล้วจะเห็นอาการของใบสีเหลืองซีดจาง หรือเห็นเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆบนบริเวณใบ ต่อมาเมื่อเชื้อพัฒนาและขยายเชื้อรามากขึ้น ขอบใบจะมีสีที่เข้มขึ้น เนื้อของแผลส่วนกลางจะแห้งกลางเป็นสีน้ำตาล และเกิดเป็นสีดำจุดเล็กๆบริเวณกลางแผล ซึ่งเป็นสาเหตุของการขยายพันธุ์ของเชื้อราก่อโรค แอนเทรคโนส และในเวลาต่อมาจะเกิดอาการหลุดร่วงของใบ

การแพร่ระบาด

ส่วนมากจะพบเชื้อรากับต้นทุเรียนที่เป็นทุเรียนพันธุ์ชะนีและพันธุ์หมอนทองและทุเรียนพันธุ์อื่นๆบ้างบางชนิด เชื้อราสาเหตุของโรคจะแพร่ระบาดไปตามลม และเข้าทำลายพืชเมื่อสภาพแวดล้อมอากาศที่เหมาะสม เช่น อากาศร้อนและมีความชื้นที่สูง

แนวทางการจัดการ

เนื่องจากเชื้อสาเหตุแพร่ระบาดได้ทางลม และ เชื้อนี้อาศัยอยู่ในพืชหลายชนิดรวมถึงวัชพืชในสวนทุเรียน ดังนั้นจะมีเชื้อสาเหตุอยู่ในพื้นที่เกือบตลอดเวลา รอเวลาที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนา แต่ส่วนใหญ่จะเกิดการพัฒนาในช่วงใบอ่อน หรือช่วงที่พืชอ่อนแอ เช่นสภาพการขาดน้ำในฤดูแล้ง เป็นต้น ดังนั้นในการจัดการโรคนี้

: ตัดแต่งกิ่งของทุเรียนให้มีความโปร่งไม่ทับซ้อนกันเพื่อป้องกันการก่อเชื้อเรและป้องกันการเกิดของเชื้อราแอนแทรคโนส 
: เมื่อทำการตัดกิ่งที่เป็นเชื้อราก่อโรคแล้วควรเก็บกวาดบริเวณโคนต้นเพราะส่วนที่เป็นเชื้อราก่อโรคอาจจะตกค้างอยู่บริเวณโคนต้นได้
: ไม่ควรปล่อยให้น้ำขังในบริเวณสวนควรมีการจัดการระบบของสวนให้มีความสะอาดปลอดจากโรคและแมลง

อ้างอิง

: https://kasetgo.com/t/leaf-blight-leaf-spot-anthracnose/207756 (เกษตรโก)

: http://164.115.28.46/thaiexen/search_detail/result/285 (สำนักงานวิจัยแห่งชาติ)

: https://www.doa.go.th/ (กรมวิชาการเกษตร)

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม-รวมส่งฟรี

โรคแอนแทรคโนส 

โรคใบไหม้หรือโรคใบจุด หรือ โรคแอนแทรคโนส (Leaf blight, Leaf spot, Anthracnose)

คือ โรคที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides จะเกิดในระยะที่ใบอ่อนแผ่กลางเต็มที่แล้ว ลักษณะอาการจะมีสีเหลืองซีดจาง หรืออาจจะเกิดจุดเล็กๆมีสีเหลืองอ่อนหรือสีที่เข้มตามระยะเวลาของอาการเชื้อรา และเมื่ออาการลุกลามเชื้อราเจริญเติบโตมากขึ้น ขอบแผลจะมีลักษณะเป็นสีน้ำตาล ส่วนตรงกลางของแผลจะแห้งและเป็นสีน้ำตาลในระยะเวลาต่อมา

สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

อาการของโรคแอนแทรคโนส

ในระยะที่ใบอ่อนกลางเต็มที่แล้วจะเห็นอาการของใบสีเหลืองซีดจาง หรือเห็นเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆบนบริเวณใบ ต่อมาเมื่อเชื้อพัฒนาและขยายเชื้อรามากขึ้น ขอบใบจะมีสีที่เข้มขึ้น เนื้อของแผลส่วนกลางจะแห้งกลางเป็นสีน้ำตาล และเกิดเป็นสีดำจุดเล็กๆบริเวณกลางแผล ซึ่งเป็นสาเหตุของการขยายพันธุ์ของเชื้อราก่อโรค แอนเทรคโนส และในเวลาต่อมาจะเกิดอาการหลุดร่วงของใบ

การแพร่ระบาด

ส่วนมากจะพบเชื้อรากับต้นทุเรียนที่เป็นทุเรียนพันธุ์ชะนีและพันธุ์หมอนทองและทุเรียนพันธุ์อื่นๆบ้างบางชนิด เชื้อราสาเหตุของโรคจะแพร่ระบาดไปตามลม และเข้าทำลายพืชเมื่อสภาพแวดล้อมอากาศที่เหมาะสม เช่น อากาศร้อนและมีความชื้นที่สูง

แนวทางการจัดการ

เนื่องจากเชื้อสาเหตุแพร่ระบาดได้ทางลม และ เชื้อนี้อาศัยอยู่ในพืชหลายชนิดรวมถึงวัชพืชในสวนทุเรียน ดังนั้นจะมีเชื้อสาเหตุอยู่ในพื้นที่เกือบตลอดเวลา รอเวลาที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนา แต่ส่วนใหญ่จะเกิดการพัฒนาในช่วงใบอ่อน หรือช่วงที่พืชอ่อนแอ เช่นสภาพการขาดน้ำในฤดูแล้ง เป็นต้น ดังนั้นในการจัดการโรคนี้

: ตัดแต่งกิ่งของทุเรียนให้มีความโปร่งไม่ทับซ้อนกันเพื่อป้องกันการก่อเชื้อเรและป้องกันการเกิดของเชื้อราแอนแทรคโนส 
: เมื่อทำการตัดกิ่งที่เป็นเชื้อราก่อโรคแล้วควรเก็บกวาดบริเวณโคนต้นเพราะส่วนที่เป็นเชื้อราก่อโรคอาจจะตกค้างอยู่บริเวณโคนต้นได้
: ไม่ควรปล่อยให้น้ำขังในบริเวณสวนควรมีการจัดการระบบของสวนให้มีความสะอาดปลอดจากโรคและแมลง

อ้างอิง

: https://kasetgo.com/t/leaf-blight-leaf-spot-anthracnose/207756 (เกษตรโก)

: http://164.115.28.46/thaiexen/search_detail/result/285 (สำนักงานวิจัยแห่งชาติ)

: https://www.doa.go.th/ (กรมวิชาการเกษตร)

โรคแอนแทรคโนส 

โรคใบไหม้หรือโรคใบจุด หรือ โรคแอนแทรคโนส (Leaf blight, Leaf spot, Anthracnose)

คือ โรคที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides จะเกิดในระยะที่ใบอ่อนแผ่กลางเต็มที่แล้ว ลักษณะอาการจะมีสีเหลืองซีดจาง หรืออาจจะเกิดจุดเล็กๆมีสีเหลืองอ่อนหรือสีที่เข้มตามระยะเวลาของอาการเชื้อรา และเมื่ออาการลุกลามเชื้อราเจริญเติบโตมากขึ้น ขอบแผลจะมีลักษณะเป็นสีน้ำตาล ส่วนตรงกลางของแผลจะแห้งและเป็นสีน้ำตาลในระยะเวลาต่อม

สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

อาการของโรคแอนแทรคโนส

ในระยะที่ใบอ่อนกลางเต็มที่แล้วจะเห็นอาการของใบสีเหลืองซีดจาง หรือเห็นเป็นจุดสีเหลืองอ่อนเล็กๆบนบริเวณใบ ต่อมาเมื่อเชื้อพัฒนาและขยายเชื้อรามากขึ้น ขอบใบจะมีสีที่เข้มขึ้น เนื้อของแผลส่วนกลางจะแห้งกลางเป็นสีน้ำตาล และเกิดเป็นสีดำจุดเล็กๆบริเวณกลางแผล ซึ่งเป็นสาเหตุของการขยายพันธุ์ของเชื้อราก่อโรค แอนเทรคโนส และในเวลาต่อมาจะเกิดอาการหลุดร่วงของใบ

การแพร่ระบาด

ส่วนมากจะพบเชื้อรากับต้นทุเรียนที่เป็นทุเรียนพันธุ์ชะนีและพันธุ์หมอนทองและทุเรียนพันธุ์อื่นๆบ้างบางชนิด เชื้อราสาเหตุของโรคจะแพร่ระบาดไปตามลม และเข้าทำลายพืชเมื่อสภาพแวดล้อมอากาศที่เหมาะสม เช่น อากาศร้อนและมีความชื้นที่สูง

แนวทางการจัดการ

เนื่องจากเชื้อสาเหตุแพร่ระบาดได้ทางลม และ เชื้อนี้อาศัยอยู่ในพืชหลายชนิดรวมถึงวัชพืชในสวนทุเรียน ดังนั้นจะมีเชื้อสาเหตุอยู่ในพื้นที่เกือบตลอดเวลา รอเวลาที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนา แต่ส่วนใหญ่จะเกิดการพัฒนาในช่วงใบอ่อน หรือช่วงที่พืชอ่อนแอ เช่นสภาพการขาดน้ำในฤดูแล้ง เป็นต้น ดังนั้นในการจัดการโรคนี้

: ตัดแต่งกิ่งของทุเรียนให้มีความโปร่งไม่ทับซ้อนกันเพื่อป้องกันการก่อเชื้อเรและป้องกันการเกิดของเชื้อราแอนแทรคโนส 
: เมื่อทำการตัดกิ่งที่เป็นเชื้อราก่อโรคแล้วควรเก็บกวาดบริเวณโคนต้นเพราะส่วนที่เป็นเชื้อราก่อโรคอาจจะตกค้างอยู่บริเวณโคนต้นได้
: ไม่ควรปล่อยให้น้ำขังในบริเวณสวนควรมีการจัดการระบบของสวนให้มีความสะอาดปลอดจากโรคและแมลง

อ้างอิง

: https://kasetgo.com/t/leaf-blight-leaf-spot-anthracnose/207756 (เกษตรโก)

: http://164.115.28.46/thaiexen/ search_detail/result/285 (สำนักงานวิจัยแห่งชาติ)

: https://www.doa.go.th/ (กรมวิชาการเกษตร)

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

จำนวนคนดู: 585