Skip to content
Search for:
หน้าแรก
เกี่่ยวกับเรา
ผลิตภัณฑ์
เทคนิคเพิ่มผลผลิต
ฟื้นฟูต้น บำรุงดินและราก
ระยะแตกใบอ่อน
ใบเพสลาด
สะสมอาหารก่อนออกดอก
เปิดตาดอก
บำรุงดอก
ช่วยผสมเกสร
ใบอ่อนแตก ระยะดอกและผลอ่อน
ติดผลเล็ก
เร่งผล / บำรุงผล
ขยายผล / สร้างพู / เพิ่มน้ำหนัก
ปรับปรุงคุณภาพ / เร่งการเข้าสี
ข่าวสารและสาระความรู้
ติดต่อเรา
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
บริษัท นครจันทร์ ราชาทุเรียน จำกัด
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
บริษัท นครจันทร์ ราชาทุเรียน จำกัด
หน้าแรก
เกี่่ยวกับเรา
ผลิตภัณฑ์
เทคนิคเพิ่มผลผลิต
ฟื้นฟูต้น บำรุงดินและราก
ระยะแตกใบอ่อน
ใบเพสลาด
สะสมอาหารก่อนออกดอก
เปิดตาดอก
บำรุงดอก
ช่วยผสมเกสร
ใบอ่อนแตก ระยะดอกและผลอ่อน
ติดผลเล็ก
เร่งผล / บำรุงผล
ขยายผล / สร้างพู / เพิ่มน้ำหนัก
ปรับปรุงคุณภาพ / เร่งการเข้าสี
ข่าวสารและสาระความรู้
ติดต่อเรา
ไรแดงแอฟริกัน (African red mites)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Eutetranychus africanus (Tucker)
ความสำคัญและลักษณะการทำลาย
ไรแดงทุเรียนดูดกินน้ําเลี้ยงอยู่บริเวณผิวใบทุเรียน ทำให้เกิดเป็นจุดปะ สีขาวกระจายอยู่ทั่วบนใบ ต่อมาจุดปะสีขาวจะแผ่ขยายออกไปเป็นบริเวณกว้าง จนใบมีอาการขาวซีดและมีคราบสีขาวเกาะติดเป็นผลขาวๆ คล้ายฝุ่นจับ ถ้าหากมีไรแดงทําลายเป็นปริมาณมากและต่อเนื่องจะทําให้ใบร่วงและมีผลกระทบต่อการออกดอกและติดผลของทุเรียน
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติ
ไรแดงแอฟริกัน (African red mites) มีการเจริญเติบโต 5 ระยะ คือ ระยะไข่ 4- 5 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 1-2 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 2 1-2 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 3 1- 2 วัน ตัวเต็มวัย 6-16 วัน ตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 13-56 ฟอง ตัวเมียลําตัวกลมแบน สีน้ําตาลเข้ม ตัวยาวประมาณ 417.67 ไมครอน กว้าง 3350.33 ไมครอน ขาทั้ง 4 คู่ สีเหลืองอ่อน ที่ปลายขาไม่มีอวัยวะระหว่างเล็บ 2 ข้าง (empodium) มีตาเป็นจุดสีแดงเล็ก อยู่บริเวณ 2 ข้างของลําตัวตอนหน้า ขนบนหลังสั้น ปลายขนบานออกคล้ายกระบองหรือไม้พาย ขนที่ส่วนท้องเป็นเส้นเล็กๆ ปลายเรียวแหลม ที่ฐานของปล้องแรกของขาที่ตัดกับลําตัว (coxa) คู่ที่ 2 จะมีขนจํานวน 2 เส้นตัวผู้ลําตัวเรียวแคบ ก้นแหลม ขายาว ขนบนหลังเรียวเล็กและสั้นกว่าขนบนหลังของตัวเมีย อวัยวะเพศผู้มีส่วนโคนใหญ่ ปลายเรียวเล็กและโค้งงอขึ้น ขนาดลําตัวเล็กกว่าตัวเมีย
พืชอาหาร
ไรแดงแอฟริกันมีพืชอาศัยหลายชนิด ได้แก่ ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะนาว มะกรูด ส้มจีน มะละกอ ขนุน สาเก ท้อ มะกอกฝรั่ง ขี้เหล็ก มะรุม ถั่วพู ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา แตงโม ตําลึง ผักบุ้ง ฝ้าย ถั่วเหลือง มันสําปะหลัง ละหุ่ง ฝ้ายดํา ลั่นทม กุหลาบ บานชื่น ชะบา แคฝรั่ง เป็นต้น
อ้างอิง กรมวิชาการเกษตร ( https://www.doa.go.th/share/attachment.php?aid=2977 )
ไรแดงแอฟริกัน (African red mites)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Eutetranychus africanus (Tucker)
ความสำคัญและลักษณะการทำลาย
ไรแดงทุเรียนดูดกินน้ําเลี้ยงอยู่บริเวณผิวใบทุเรียน ทำให้เกิดเป็นจุดปะ สีขาวกระจายอยู่ทั่วบนใบ ต่อมาจุดปะสีขาวจะแผ่ขยายออกไปเป็นบริเวณกว้าง จนใบมีอาการขาวซีดและมีคราบสีขาวเกาะติดเป็นผลขาวๆ คล้ายฝุ่นจับ ถ้าหากมีไรแดงทําลายเป็นปริมาณมากและต่อเนื่องจะทําให้ใบร่วงและมีผลกระทบต่อการออกดอกและติดผลของทุเรียน
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติ
ไรแดงแอฟริกัน (African red mites) มีการเจริญเติบโต 5 ระยะ คือ ระยะไข่ 4- 5 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 1-2 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 2 1-2 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 3 1- 2 วัน ตัวเต็มวัย 6-16 วัน ตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 13-56 ฟอง ตัวเมียลําตัวกลมแบน สีน้ําตาลเข้ม ตัวยาวประมาณ 417.67 ไมครอน กว้าง 3350.33 ไมครอน ขาทั้ง 4 คู่ สีเหลืองอ่อน ที่ปลายขาไม่มีอวัยวะระหว่างเล็บ 2 ข้าง (empodium) มีตาเป็นจุดสีแดงเล็ก อยู่บริเวณ 2 ข้างของลําตัวตอนหน้า ขนบนหลังสั้น ปลายขนบานออกคล้ายกระบองหรือไม้พาย ขนที่ส่วนท้องเป็นเส้นเล็กๆ ปลายเรียวแหลม ที่ฐานของปล้องแรกของขาที่ตัดกับลําตัว (coxa) คู่ที่ 2 จะมีขนจํานวน 2 เส้นตัวผู้ลําตัวเรียวแคบ ก้นแหลม ขายาว ขนบนหลังเรียวเล็กและสั้นกว่าขนบนหลังของตัวเมีย อวัยวะเพศผู้มีส่วนโคนใหญ่ ปลายเรียวเล็กและโค้งงอขึ้น ขนาดลําตัวเล็กกว่าตัวเมีย
พืชอาหาร
ไรแดงแอฟริกันมีพืชอาศัยหลายชนิด ได้แก่ ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะนาว มะกรูด ส้มจีน มะละกอ ขนุน สาเก ท้อ มะกอกฝรั่ง ขี้เหล็ก มะรุม ถั่วพู ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา แตงโม ตําลึง ผักบุ้ง ฝ้าย ถั่วเหลือง มันสําปะหลัง ละหุ่ง ฝ้ายดํา ลั่นทม กุหลาบ บานชื่น ชะบา แคฝรั่ง เป็นต้น
อ้างอิง กรมวิชาการเกษตร
( https://www.doa.go.th/share/attachment.php?aid=2977 )
ไรแดงแอฟริกัน (African red mites)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Eutetranychus africanus (Tucker)
ความสำคัญและลักษณะการทำลาย
ไรแดงทุเรียนดูดกินน้ําเลี้ยงอยู่บริเวณผิวใบทุเรียน ทำให้เกิดเป็นจุดปะ สีขาวกระจายอยู่ทั่วบนใบ ต่อมาจุดปะสีขาวจะแผ่ขยายออกไปเป็นบริเวณกว้าง จนใบมีอาการขาวซีดและมีคราบสีขาวเกาะติดเป็นผลขาวๆ คล้ายฝุ่นจับ ถ้าหากมีไรแดงทําลายเป็นปริมาณมากและต่อเนื่องจะทําให้ใบร่วงและมีผลกระทบต่อการออกดอกและติดผลของทุเรียน
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติ
ไรแดงแอฟริกัน (African red mites) มีการเจริญเติบโต 5 ระยะ คือ ระยะไข่ 4- 5 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 1-2 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 2 1-2 วัน ตัวอ่อนระยะที่ 3 1- 2 วัน ตัวเต็มวัย 6-16 วัน ตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 13-56 ฟอง ตัวเมียลําตัวกลมแบน สีน้ําตาลเข้ม ตัวยาวประมาณ 417.67 ไมครอน กว้าง 3350.33 ไมครอน ขาทั้ง 4 คู่ สีเหลืองอ่อน ที่ปลายขาไม่มีอวัยวะระหว่างเล็บ 2 ข้าง (empodium) มีตาเป็นจุดสีแดงเล็ก อยู่บริเวณ 2 ข้างของลําตัวตอนหน้า ขนบนหลังสั้น ปลายขนบานออกคล้ายกระบองหรือไม้พาย ขนที่ส่วนท้องเป็นเส้นเล็กๆ ปลายเรียวแหลม ที่ฐานของปล้องแรกของขาที่ตัดกับลําตัว (coxa) คู่ที่ 2 จะมีขนจํานวน 2 เส้นตัวผู้ลําตัวเรียวแคบ ก้นแหลม ขายาว ขนบนหลังเรียวเล็กและสั้นกว่าขนบนหลังของตัวเมีย อวัยวะเพศผู้มีส่วนโคนใหญ่ ปลายเรียวเล็กและโค้งงอขึ้น ขนาดลําตัวเล็กกว่าตัวเมีย
พืชอาหาร
ไรแดงแอฟริกันมีพืชอาศัยหลายชนิด ได้แก่ ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะนาว มะกรูด ส้มจีน มะละกอ ขนุน สาเก ท้อ มะกอกฝรั่ง ขี้เหล็ก มะรุม ถั่วพู ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา แตงโม ตําลึง ผักบุ้ง ฝ้าย ถั่วเหลือง มันสําปะหลัง ละหุ่ง ฝ้ายดํา ลั่นทม กุหลาบ บานชื่น ชะบา แคฝรั่ง เป็นต้น
อ้างอิง กรมวิชาการเกษตร ( https://www.doa.go.th/share/attachment.php?aid=2977 )
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210
ติดตามเรา
บทความที่น่าสนใจ
• คำแนะนำในการปลูกทุเรียน
• ธาตุอาหารหลักในทุเรียน
• ดินที่เหมาะสมกับการปลูกทุเรียน
• สาเหตุที่ทำให้ทุเรียนไม่ติดดอก
• พันธุ์ทุเรียนในประเทศไทย
ติดต่อเรา
095 198 9459
turianyimm@gmail.com
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม By ทุเรียนยิ้ม
@turianyim
ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
29/27 ตำบลชากไทย
อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210
ติดตามเรา
บทความที่น่าสนใจ
• คำแนะนำในการปลูกทุเรียน
• ธาตุอาหารหลักในทุเรียน
• ดินที่เหมาะสมกับการปลูกทุเรียน
• สาเหตุที่ทำให้ทุเรียนไม่ติดดอก
• พันธุ์ทุเรียนในประเทศไทย
ติดต่อเรา
095 198 9459
turianyimm@gmail.com
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม By ทุเรียนยิ้ม
@turianyim
จำนวนคนดู:
1,050