อาการใบไหล

การแตกยอด การแตกใบอ่อนของทุเรียน ที่ชาวเกษตรกรเรียกว่า “อาการใบไหล” การที่ทุเรียนแตกใบอ่อนในช่วงการทำดอกหรือติดผลอ่อน ถือเป็นปัญหาที่เกษตรกรควรให้ความสำคัญ เนื่องจากหากเกิดการแตกใบอ่อนในช่วงนี้ ต้นทุเรียนจะใช้พลังงานมาก ทำให้เกิดสาเหตุของการแย่งชิงอาหารจากส่วนอื่นๆ โดยต้นทุเรียนจะส่งอาหารที่สะสมอยู่ตามกิ่ง ลำต้น และใบเก่า ไปเลี้ยงยอดที่แตกออกมาใหม่ก่อน เนื่องจากใบอ่อนมีความสามารถในการดึงดูดสารอาหารได้ดีกว่าดอกและผลอ่อน เมื่ออาหารที่สะสมไว้โดนดึงไปใช้ อาหารที่มีจึงไม่เพียงพอสำหรับการเลี้ยงดอกหรือผลอ่อนของต้นทุเรียนในขณะนั้น ทำให้ต้นทุเรียนต้องทิ้งดอกหรือทิ้งผลก่อน เพื่อความอยู่รอดของต้น ทำให้ส่งผลเสียต่อกระบวนการออกดอกและการพัฒนาของผลทุเรียน โดยมีผลต่อทั้งคุณภาพและปริมาณของผลผลิต

ผลกระทบอาการใบไหลในช่วงทำดอกและผลอ่อน

1. แย่งชิงอาหารจากดอกและผลอ่อน

การแตกใบอ่อนจะทำให้ต้นทุเรียนใช้พลังงานและธาตุอาหารในการเจริญเติบโตของใบใหม่ ซึ่งจะไปแย่งอาหารจากดอกและผล ทำให้ดอกหลุดร่วงหรือผลที่พัฒนาแล้วมีขนาดเล็กและไม่สมบูรณ์

2. คุณภาพของผลผลิตลดลง

เมื่อทุเรียนต้องจัดสรรพลังงานให้กับการเจริญเติบโตของใบ อาจส่งผลให้ผลทุเรียนที่ติดแล้วมีการเจริญเติบโตช้าลง ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพต่ำ และไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้ตามมาตรฐาน

3. ปริมาณผลผลิตลดลง

นอกจากคุณภาพของผลจะลดลงแล้ว ปริมาณของผลที่ติดบนต้นก็จะน้อยลงด้วย เพราะต้นทุเรียนต้องจัดสรรพลังงานให้กับการเจริญเติบโตของใบอ่อน ทำให้ดอกร่วงหลุดได้ง่าย

ทุเรียนถือเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่เกษตรกรในหลายพื้นที่ให้ความสำคัญในการดูแล แต่ทุเรียนก็เป็นพืชที่อ่อนแอต่อการเกิดโรคและปัญหาสุขภาพพืชต่างๆ หนึ่งในปัญหาที่พบได้บ่อย คือ อาการใบไหล ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้องและตรงจุด อาจนำไปสู่ความเสียหายของต้นในระยะยาว ทำให้ผลผลิตทุเรียนลดลง ไม่ได้คุณภาพ และส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจได้ การดูแลต้นทุเรียนอย่างใส่ใจจะช่วยลดปัญหานี้ได้ เกษตรกรควรหมั่นตรวจสอบสุขภาพของต้นทุเรียนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงทีและป้องกันการสูญเสียผลผลิตในระยะยาว

ต้นทุเรียนแตกใบอ่อน

ทุเรียนยิ้ม ขอแนะนำตัวช่วยเรื่อง หยุดใบไหล บังคับใบกาง " ดีเลย์ลีฟ "

ไม่ใช่ปุ๋ย ไม่มีสารแพคโครบิวทราซอล ไม่มีเมพิควอทครอไดร์ และไม่ชะลอการเจริญเติบโตของผล

1. ดีเลย์ลีฟ ตราทุเรียนยิ้ม

ฉีดพ่นในใบระยะหางปลา หางดาบ เพื่อบังคับใบกางรับสารอาหารจากภายนอก ลดการแย่งชิงอาหารจากต้นมาใช้ สามารถพ่นโดนดอกและลูกได้ ไม่มีผลกระทบ ไม่ทำให้ชะงักการเจริญเติบโต หนามไม่แดง ช่วยเพิ่มความสมบูรณ์ลดการบิดของลูก แม้ช่วงแตกใบอ่อนหนัก ใบใหม่ที่กางใบจะมีลักษณะมัน สีเข้ม ใบเก่าไม่กระด้าง และยอดไม่เป็นก้านธูป

อัตราการใช้ : ปริมาณ 100 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

2. เทคออฟ ตราทุเรียนยิ้ม

สารเร่งซึม+สารลดแรงตึงผิว เพื่อการแทรกซึมได้ดียิ่งขึ้น ซิลิโคนที่มีสารลดแรงตึงผิวในตัว ไม่พึ่งสารลดแรงตึงผิวจากตัว Non-ionic และไม่มีแอลกอฮอล์

อัตราการใช้ : เพียง 5 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

ผลลัพธ์จากเกษตรกรที่ใช้ผลิตภัณฑ์ตราทุเรียนยิ้ม

ปรึกษาปัญหาทุเรียน ฟรี!! ” คลิกเลย “ 

อาการใบไหล

การแตกยอด การแตกใบอ่อนของทุเรียน ที่ชาวเกษตรกรเรียกว่า “อาการใบไหล” การที่ทุเรียนแตกใบอ่อนในช่วงการทำดอกหรือติดผลอ่อน ถือเป็นปัญหาที่เกษตรกรควรให้ความสำคัญ เนื่องจากหากเกิดการแตกใบอ่อนในช่วงนี้ ต้นทุเรียนจะใช้พลังงานมาก ทำให้เกิดสาเหตุของการแย่งชิงอาหารจากส่วนอื่นๆ โดยต้นทุเรียนจะส่งอาหารที่สะสมอยู่ตามกิ่ง ลำต้น และใบเก่า ไปเลี้ยงยอดที่แตกออกมาใหม่ก่อน เนื่องจากใบอ่อนมีความสามารถในการดึงดูดสารอาหารได้ดีกว่าดอกและผลอ่อน เมื่ออาหารที่สะสมไว้โดนดึงไปใช้ อาหารที่มีจึงไม่เพียงพอสำหรับการเลี้ยงดอกหรือผลอ่อนของต้นทุเรียนในขณะนั้น ทำให้ต้นทุเรียนต้องทิ้งดอกหรือทิ้งผลก่อน เพื่อความอยู่รอดของต้น ทำให้ส่งผลเสียต่อกระบวนการออกดอกและการพัฒนาของผลทุเรียน โดยมีผลต่อทั้งคุณภาพและปริมาณของผลผลิต

ผลกระทบอาการใบไหล
ในช่วงทำดอกและผลอ่อน

1. แย่งชิงอาหารจากดอกและผลอ่อน

การแตกใบอ่อนจะทำให้ต้นทุเรียนใช้พลังงานและธาตุอาหารในการเจริญเติบโตของใบใหม่ ซึ่งจะไปแย่งอาหารจากดอกและผล ทำให้ดอกหลุดร่วงหรือผลที่พัฒนาแล้วมีขนาดเล็กและไม่สมบูรณ์

2. คุณภาพของผลผลิตลดลง

เมื่อทุเรียนต้องจัดสรรพลังงานให้กับการเจริญเติบโตของใบ อาจส่งผลให้ผลทุเรียนที่ติดแล้วมีการเจริญเติบโตช้าลง ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพต่ำ และไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้ตามมาตรฐาน

3. ปริมาณผลผลิตลดลง

นอกจากคุณภาพของผลจะลดลงแล้ว ปริมาณของผลที่ติดบนต้นก็จะน้อยลงด้วย เพราะต้นทุเรียนต้องจัดสรรพลังงานให้กับการเจริญเติบโตของใบอ่อน ทำให้ดอกร่วงหลุดได้ง่าย

ทุเรียนถือเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่เกษตรกรในหลายพื้นที่ให้ความสำคัญในการดูแล แต่ทุเรียนก็เป็นพืชที่อ่อนแอต่อการเกิดโรคและปัญหาสุขภาพพืชต่างๆ หนึ่งในปัญหาที่พบได้บ่อย คือ อาการใบไหล ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้องและตรงจุด อาจนำไปสู่ความเสียหายของต้นในระยะยาว ทำให้ผลผลิตทุเรียนลดลง ไม่ได้คุณภาพ และส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจได้ การดูแลต้นทุเรียนอย่างใส่ใจจะช่วยลดปัญหานี้ได้ เกษตรกรควรหมั่นตรวจสอบสุขภาพของต้นทุเรียนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงทีและป้องกันการสูญเสียผลผลิตในระยะยาว

ต้นทุเรียนแตกใบอ่อน

ทุเรียนยิ้ม ขอแนะนำตัว
ช่วยเรื่อง หยุดใบไหล บังคับใบกาง
" ดีเลย์ลีฟ "

ไม่ใช่ปุ๋ย ไม่มีสารแพคโครบิวทราซอล
ไม่มีเมพิควอทครอไดร์ และไม่ชะลอ
การเจริญเติบโตของผล

1. ดีเลย์ลีฟ ตราทุเรียนยิ้ม

ฉีดพ่นในใบระยะหางปลา หางดาบ เพื่อบังคับใบกางรับสารอาหารจากภายนอก ลดการแย่งชิงอาหารจากต้นมาใช้ สามารถพ่นโดนดอกและลูกได้ ไม่มีผลกระทบ ไม่ทำให้ชะงักการเจริญเติบโต หนามไม่แดง ช่วยเพิ่มความสมบูรณ์ลดการบิดของลูก แม้ช่วงแตกใบอ่อนหนัก ใบใหม่ที่กางใบจะมีลักษณะมัน สีเข้ม ใบเก่าไม่กระด้าง และยอดไม่เป็นก้านธูป

อัตราการใช้ : ปริมาณ 100 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

2. เทคออฟ ตราทุเรียนยิ้ม

สารเร่งซึม+สารลดแรงตึงผิว เพื่อการแทรกซึมได้ดียิ่งขึ้น ซิลิโคนที่มีสารลดแรงตึงผิวในตัว ไม่พึ่งสารลดแรงตึงผิวจากตัว Non-ionic และไม่มีแอลกอฮอล์

อัตราการใช้ : เพียง 5 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

ผลลัพธ์จากเกษตรกร
ที่ใช้ผลิตภัณฑ์ตราทุเรียนยิ้ม

อาการใบไหล

การแตกยอด การแตกใบอ่อนของทุเรียน ที่ชาวเกษตรกรเรียกว่า “อาการใบไหล” การที่ทุเรียนแตกใบอ่อนในช่วงการทำดอกหรือติดผลอ่อน ถือเป็นปัญหาที่เกษตรกรควรให้ความสำคัญ เนื่องจากหากเกิดการแตกใบอ่อนในช่วงนี้ ต้นทุเรียนจะใช้พลังงานมาก ทำให้เกิดสาเหตุของการแย่งชิงอาหารจากส่วนอื่นๆ โดยต้นทุเรียนจะส่งอาหารที่สะสมอยู่ตามกิ่ง ลำต้น และใบเก่า ไปเลี้ยงยอดที่แตกออกมาใหม่ก่อน เนื่องจากใบอ่อนมีความสามารถในการดึงดูดสารอาหารได้ดีกว่าดอกและผลอ่อน เมื่ออาหารที่สะสมไว้โดนดึงไปใช้ อาหารที่มีจึงไม่เพียงพอสำหรับการเลี้ยงดอกหรือผลอ่อนของต้นทุเรียนในขณะนั้น ทำให้ต้นทุเรียนต้องทิ้งดอกหรือทิ้งผลก่อน เพื่อความอยู่รอดของต้น ทำให้ส่งผลเสียต่อกระบวนการออกดอกและการพัฒนาของผลทุเรียน โดยมีผลต่อทั้งคุณภาพและปริมาณของผลผลิต

ผลกระทบอาการใบไหลในช่วงทำดอกและผลอ่อน

1. แย่งชิงอาหารจากดอกและผลอ่อน

การแตกใบอ่อนจะทำให้ต้นทุเรียนใช้พลังงานและธาตุอาหารในการเจริญเติบโตของใบใหม่ ซึ่งจะไปแย่งอาหารจากดอกและผล ทำให้ดอกหลุดร่วงหรือผลที่พัฒนาแล้วมีขนาดเล็กและไม่สมบูรณ์

2. คุณภาพของผลผลิตลดลง

เมื่อทุเรียนต้องจัดสรรพลังงานให้กับการเจริญเติบโตของใบ อาจส่งผลให้ผลทุเรียนที่ติดแล้วมีการเจริญเติบโตช้าลง ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพต่ำ และไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้ตามมาตรฐาน

3. ปริมาณผลผลิตลดลง

นอกจากคุณภาพของผลจะลดลงแล้ว ปริมาณของผลที่ติดบนต้นก็จะน้อยลงด้วย เพราะต้นทุเรียนต้องจัดสรรพลังงานให้กับการเจริญเติบโตของใบอ่อน ทำให้ดอกร่วงหลุดได้ง่าย

ทุเรียนถือเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่เกษตรกรในหลายพื้นที่ให้ความสำคัญในการดูแล แต่ทุเรียนก็เป็นพืชที่อ่อนแอต่อการเกิดโรคและปัญหาสุขภาพพืชต่างๆ หนึ่งในปัญหาที่พบได้บ่อย คือ อาการใบไหล ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้องและตรงจุด อาจนำไปสู่ความเสียหายของต้นในระยะยาว ทำให้ผลผลิตทุเรียนลดลง ไม่ได้คุณภาพ และส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจได้ การดูแลต้นทุเรียนอย่างใส่ใจจะช่วยลดปัญหานี้ได้ เกษตรกรควรหมั่นตรวจสอบสุขภาพของต้นทุเรียนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงทีและป้องกันการสูญเสียผลผลิตในระยะยาว

ต้นทุเรียนแตกใบอ่อน

ทุเรียนยิ้ม ขอแนะนำตัวช่วยเรื่อง หยุดใบไหล บังคับใบกาง " ดีเลย์ลีฟ "

ไม่ใช่ปุ๋ย ไม่มีสารแพคโครบิวทราซอล ไม่มีเมพิควอทครอไดร์ และไม่ชะลอการเจริญเติบโตของผล

1. ดีเลย์ลีฟ ตราทุเรียนยิ้ม

ฉีดพ่นในใบระยะหางปลา หางดาบ เพื่อบังคับใบกางรับสารอาหารจากภายนอก ลดการแย่งชิงอาหารจากต้นมาใช้ สามารถพ่นโดนดอกและลูกได้ ไม่มีผลกระทบ ไม่ทำให้ชะงักการเจริญเติบโต หนามไม่แดง ช่วยเพิ่มความสมบูรณ์ลดการบิดของลูก แม้ช่วงแตกใบอ่อนหนัก ใบใหม่ที่กางใบจะมีลักษณะมัน สีเข้ม ใบเก่าไม่กระด้าง และยอดไม่เป็นก้านธูป

อัตราการใช้ : ปริมาณ 100 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

2. เทคออฟ ตราทุเรียนยิ้ม

สารเร่งซึม+สารลดแรงตึงผิว เพื่อการแทรกซึมได้ดียิ่งขึ้น ซิลิโคนที่มีสารลดแรงตึงผิวในตัว ไม่พึ่งสารลดแรงตึงผิวจากตัว Non-ionic และไม่มีแอลกอฮอล์

อัตราการใช้ : เพียง 5 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

ผลลัพธ์จากเกษตรกรที่ใช้ผลิตภัณฑ์ตราทุเรียนยิ้ม

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

จำนวนคนดู: 6