ลักษณะอาการของเชื้อรา Capnodium sp. Mont.

ผลที่ติดโรคมักจะเกิดเส้นใยเชื้อราสีดำเกิดเป็นจุดๆหรือเป็นหย่อมๆกระจายอยู่ทั่วไป ติดได้ทั้งใบและผลของทุเรียน เชื้อราก่อโรคจะไม่เข้าลายถึงเนื้อเยื่อของผลทุเรียน และโครงสร้างภายในของใบ แต่จะก่อเชื้อราปกคลุมที่ส่วนของผิวภายนอกของผลและใบ ส่งผลทำให้การสังเคราะห์แสงของพืชมีประสิทธิภาพทำงานลดลง

การแพร่ระบาดของโรค

การแพร่ระบาดจะมาจากแมลงบางชนิด เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง หรือเพลี้ยไก่แจ้ แมลงจำพวกนี้จะขับถ่ายสารเหนียวออกมาบนผลและใบ ซึ่งสารเหนียวเหล่านี้จะเป็นอาหารของเชื้อราดำ มักจะพบการระบาดที่ผล หรือต้นทุเรียนที่ไม่มีการตัดแต่งทำให้ทึบจนเกินไปเป็นสาเหตุของเชื้อราก่อโรคและที่อยู่อาศัยแมลง

ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคราดำ

การเกิดโรคราดำหลักๆมาจากเชื้อรา Capnodium sp. Mont. แต่ปัจจัยการก่อโรคอาจมีปัจจัยอื่นๆอีกหลายประการ ตัวอย่างเช่น ความชื้นที่เกิดภายในทรงพุ่มและความทึบภายในต้นของทุเรียน หรือการพ่นอาหารเสริมพวกน้ำตาลทางด่วนที่เยอะจนเกินความจำเป็นเพราะอาหารเสริมพวกนี้เป็นแหล่งอาหารอย่างดีให้กับพวกเชื้อรา และปัจจัยอีกอย่างคือเพลี้ยจำพวกต่างๆ เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยเหล่านี้มีปัจจัยทำให้เกิดราดำ เพราะว่าเมื่อเพลี้ยพวกนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงภายในเนื้อเยื่อพืชจะขับถ่ายมูลเหนียวออกมาที่มีความหวาน หอม คล้ายน้ำผึ้ง ซึ่งเป็นความชอบของเชื้อราซึ่งทำให้เกิดการก่อโรคและพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเชื้อราอีกด้วย

สรุปแบ่งการเกิดราดำเป็น 3 ประเภทหลัก คือ

1 ความชื้นในพื้นที่หรือสภาพอากาศ
2 พ่นอาหารเสริมจำพวกน้ำตาลทางด่วนบ่อยครั้งเกินความจำเป็น ส่งผลทำให้เกิดการตกค้าง
3 เพลี้ยชนิดต่างๆ เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น

วิธีการป้องกันและจัดการโรคราดำ

กรมส่งเสริมการเกษตร ขอแนะนำให้เกษตรกรชาวสวนทุเรียนป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งทุเรียน โดยหมั่นสำรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบเพลี้ยแป้งระบาดเล็กน้อย เช่น บนกิ่ง ให้ตัดส่วนที่ถูกทำลายทิ้งไป หากพบบนผลทุเรียนในปริมาณน้อยอาจใช้แปลงปัด ใช้น้ำพ่นให้เพลี้ยแป้งหลุดออกไป

1. ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง
2. พ่นสารป้องกันกำจัดแมลง เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง และ เพลี้ยไก้แจ้

โรคราดำในทุเรียน (sooty mold) โรคราดำ ในทุเรียนเกิดจากเชื้อรา Capnodium sp. Mont. 

อ้างอิง : https://kasetgo.com/t/sooty-mold/207882

https://www.agrogroups.com/th/news/pest-problem/237-article-2022-2.html. 

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม-รวมส่งฟรี

ลักษณะอาการของเชื้อรา Capnodium sp. Mont.

ผลที่ติดโรคมักจะเกิดเส้นใยเชื้อราสีดำเกิดเป็นจุดๆหรือเป็นหย่อมๆกระจายอยู่ทั่วไป ติดได้ทั้งใบและผลของทุเรียน เชื้อราก่อโรคจะไม่เข้าลายถึงเนื้อเยื่อของผลทุเรียน และโครงสร้างภายในของใบ แต่จะก่อเชื้อราปกคลุมที่ส่วนของผิวภายนอกของผลและใบ ส่งผลทำให้การสังเคราะห์แสงของพืชมีประสิทธิภาพทำงานลดลง

การแพร่ระบาดของโรค

การแพร่ระบาดจะมาจากแมลงบางชนิด เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง หรือเพลี้ยไก่แจ้ แมลงจำพวกนี้จะขับถ่ายสารเหนียวออกมาบนผลและใบ ซึ่งสารเหนียวเหล่านี้จะเป็นอาหารของเชื้อราดำ มักจะพบการระบาดที่ผล หรือต้นทุเรียนที่ไม่มีการตัดแต่งทำให้ทึบจนเกินไปเป็นสาเหตุของเชื้อราก่อโรคและที่อยู่อาศัยแมลง

ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคราดำ

การเกิดโรคราดำหลักๆมาจากเชื้อรา Capnodium sp. Mont. แต่ปัจจัยการก่อโรคอาจมีปัจจัยอื่นๆอีกหลายประการ ตัวอย่างเช่น ความชื้นที่เกิดภายในทรงพุ่มและความทึบภายในต้นของทุเรียน หรือการพ่นอาหารเสริมพวกน้ำตาลทางด่วนที่เยอะจนเกินความจำเป็นเพราะอาหารเสริมพวกนี้เป็นแหล่งอาหารอย่างดีให้กับพวกเชื้อรา และปัจจัยอีกอย่างคือเพลี้ยจำพวกต่างๆ เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยเหล่านี้มีปัจจัยทำให้เกิดราดำ เพราะว่าเมื่อเพลี้ยพวกนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงภายในเนื้อเยื่อพืชจะขับถ่ายมูลเหนียวออกมาที่มีความหวาน หอม คล้ายน้ำผึ้ง ซึ่งเป็นความชอบของเชื้อราซึ่งทำให้เกิดการก่อโรคและพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเชื้อราอีกด้วย

สรุปแบ่งการเกิดราดำเป็น 3 ประเภทหลัก คือ

1 ความชื้นในพื้นที่หรือสภาพอากาศ
2 พ่นอาหารเสริมจำพวกน้ำตาลทางด่วนบ่อยครั้งเกินความจำเป็น ส่งผลทำให้เกิดการตกค้าง
3 เพลี้ยชนิดต่างๆ เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น

วิธีการป้องกันและจัดการโรคราดำ

กรมส่งเสริมการเกษตร ขอแนะนำให้เกษตรกรชาวสวนทุเรียนป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งทุเรียน โดยหมั่นสำรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบเพลี้ยแป้งระบาดเล็กน้อย เช่น บนกิ่ง ให้ตัดส่วนที่ถูกทำลายทิ้งไป หากพบบนผลทุเรียนในปริมาณน้อยอาจใช้แปลงปัด ใช้น้ำพ่นให้เพลี้ยแป้งหลุดออกไป

1. ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง
2. พ่นสารป้องกันกำจัดแมลง เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง และ เพลี้ยไก้แจ้

โรคราดำในทุเรียน (sooty mold) โรคราดำ ในทุเรียนเกิดจากเชื้อรา Capnodium sp. Mont. 

อ้างอิง : https://kasetgo.com/t/sooty-mold/207882

https://www.agrogroups.com/th/news/pest-problem/237-article-2022-2.html. 

ลักษณะอาการของเชื้อรา Capnodium sp. Mont.

ผลที่ติดโรคมักจะเกิดเส้นใยเชื้อราสีดำเกิดเป็นจุดๆหรือเป็นหย่อมๆกระจายอยู่ทั่วไป ติดได้ทั้งใบและผลของทุเรียน เชื้อราก่อโรคจะไม่เข้าลายถึงเนื้อเยื่อของผลทุเรียน และโครงสร้างภายในของใบ แต่จะก่อเชื้อราปกคลุมที่ส่วนของผิวภายนอกของผลและใบ ส่งผลทำให้การสังเคราะห์แสงของพืชมีประสิทธิภาพทำงานลดลง

การแพร่ระบาดของโรค

การแพร่ระบาดจะมาจากแมลงบางชนิด เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง หรือเพลี้ยไก่แจ้ แมลงจำพวกนี้จะขับถ่ายสารเหนียวออกมาบนผลและใบ ซึ่งสารเหนียวเหล่านี้จะเป็นอาหารของเชื้อราดำ มักจะพบการระบาดที่ผล หรือต้นทุเรียนที่ไม่มีการตัดแต่งทำให้ทึบจนเกินไปเป็นสาเหตุของเชื้อราก่อโรคและที่อยู่อาศัยแมลง

ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคราดำ

การเกิดโรคราดำหลักๆมาจากเชื้อรา Capnodium sp. Mont. แต่ปัจจัยการก่อโรคอาจมีปัจจัยอื่นๆอีกหลายประการ ตัวอย่างเช่น ความชื้นที่เกิดภายในทรงพุ่มและความทึบภายในต้นของทุเรียน หรือการพ่นอาหารเสริมพวกน้ำตาลทางด่วนที่เยอะจนเกินความจำเป็นเพราะอาหารเสริมพวกนี้เป็นแหล่งอาหารอย่างดีให้กับพวกเชื้อรา และปัจจัยอีกอย่างคือเพลี้ยจำพวกต่างๆ เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยเหล่านี้มีปัจจัยทำให้เกิดราดำ เพราะว่าเมื่อเพลี้ยพวกนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงภายในเนื้อเยื่อพืชจะขับถ่ายมูลเหนียวออกมาที่มีความหวาน หอม คล้ายน้ำผึ้ง ซึ่งเป็นความชอบของเชื้อราซึ่งทำให้เกิดการก่อโรคและพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเชื้อราอีกด้วย

สรุปแบ่งการเกิดราดำเป็น 3 ประเภทหลัก คือ

1 ความชื้นในพื้นที่หรือสภาพอากาศ
2 พ่นอาหารเสริมจำพวกน้ำตาลทางด่วนบ่อยครั้งเกินความจำเป็น ส่งผลทำให้เกิดการตกค้าง
3 เพลี้ยชนิดต่างๆ เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น

วิธีการป้องกันและจัดการโรคราดำ

กรมส่งเสริมการเกษตร ขอแนะนำให้เกษตรกรชาวสวนทุเรียนป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งทุเรียน โดยหมั่นสำรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบเพลี้ยแป้งระบาดเล็กน้อย เช่น บนกิ่ง ให้ตัดส่วนที่ถูกทำลายทิ้งไป หากพบบนผลทุเรียนในปริมาณน้อยอาจใช้แปลงปัด ใช้น้ำพ่นให้เพลี้ยแป้งหลุดออกไป

1. ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง
2. พ่นสารป้องกันกำจัดแมลง เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง และ เพลี้ยไก้แจ้

โรคราดำในทุเรียน (sooty mold) โรคราดำ ในทุเรียนเกิดจากเชื้อรา Capnodium sp. Mont. 

อ้างอิง : https://kasetgo.com/t/sooty-mold/207882

https://www.agrogroups.com/th/news/pest-problem/237-article-2022-2.html. 

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

จำนวนคนดู: 912