Skip to content
Search for:
หน้าแรก
เกี่่ยวกับเรา
ผลิตภัณฑ์
เทคนิคเพิ่มผลผลิต
ฟื้นฟูต้น บำรุงดินและราก
ระยะแตกใบอ่อน
ใบเพสลาด
สะสมอาหารก่อนออกดอก
เปิดตาดอก
บำรุงดอก
ช่วยผสมเกสร
ใบอ่อนแตก ระยะดอกและผลอ่อน
ติดผลเล็ก
เร่งผล / บำรุงผล
ขยายผล / สร้างพู / เพิ่มน้ำหนัก
ปรับปรุงคุณภาพ / เร่งการเข้าสี
ข่าวสารและสาระความรู้
ติดต่อเรา
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
บริษัท นครจันทร์ ราชาทุเรียน จำกัด
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
บริษัท นครจันทร์ ราชาทุเรียน จำกัด
หน้าแรก
เกี่่ยวกับเรา
ผลิตภัณฑ์
เทคนิคเพิ่มผลผลิต
ฟื้นฟูต้น บำรุงดินและราก
ระยะแตกใบอ่อน
ใบเพสลาด
สะสมอาหารก่อนออกดอก
เปิดตาดอก
บำรุงดอก
ช่วยผสมเกสร
ใบอ่อนแตก ระยะดอกและผลอ่อน
ติดผลเล็ก
เร่งผล / บำรุงผล
ขยายผล / สร้างพู / เพิ่มน้ำหนัก
ปรับปรุงคุณภาพ / เร่งการเข้าสี
ข่าวสารและสาระความรู้
ติดต่อเรา
โรคผลเน่า เชื้อรา Phytophthora palmivora
โรคผลเน่า คือเชื้อราที่มีลักษณะอาการเดียวกับ โรครากเน่าโคนเน่า โดยจะเชื้อราจะเข้าทำลายได้ตั้งแต่ส่วนของ ราก ลำต้น และส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสามารถเข้าทำลายในช่วงของระยะผลอ่อนไปถึงระยะผลแก่ การเข้าทำลายนั้นจะแสดงอาการคือ ลักษณะของผลจะมีรอยช้ำ เป็นหย่อมๆทั่วบริเวณของผลจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อราก่อโรค เชื้อราสามารถแพร่กระจายและลุกลามไปได้ไว ไม่เพียงแต่จะทำลายส่วนของผิวเปลือกแต่สามารถเข้าทำลายไปเนื้อของพืชได้
เชื้อรา Phytophthora palmivora
ลักษณะอาการของโรคผลเน่าในทุเรียน
โรคผลเน่า คือเชื้อราที่มีลักษณะอาการเดียวกับ โรครากเน่าโคนเน่า โดยจะเชื้อราจะเข้าทำลายได้ตั้งแต่ส่วนของ ราก ลำต้น และส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสามารถเข้าทำลายในช่วงของระยะผลอ่อนไปถึงระยะผลแก่ การเข้าทำลายนั้นจะแสดงอาการคือ ลักษณะของผลจะมีรอยช้ำ เป็นหย่อมๆทั่วบริเวณของผลจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อราก่อโรค เชื้อราสามารถแพร่กระจายและลุกลามไปได้ไว ไม่เพียงแต่จะทำลายส่วนของผิวเปลือกแต่สามารถเข้าทำลายไปเนื้อของพืชได้
การแพร่ระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า
เชื้อราไฟทอปธอร่าเป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินและยังทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง แต่เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมหรือมีอาหารสะสมที่เพียงพอ เชื้อราจะขยายพันธุ์และสร้างเส้นใยเข้าไปตามระบบรากพืชและพัฒนาสร้างเส้นใยขยายตัวภายในพืชทำให้ระบบโครงสร้างของรากทุเรียนเน่า ในสภาวะที่มีความชื้นสูงและฝนตกชุก เชื้อราจะแพร่โดยการกระเซ็นไปยังบริเวณโคนต้นหรือบริเวณต้นทุเรียนที่อยู่รอบๆ ถ้าเชื้อราอยู่ที่บริเวณใบก็จะกระเซ็นติดกันได้ อุณหภูมิก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เชื้อราไฟทอปธอร่าเจริญได้ดีในอุณหภูมิ 11-35
การป้องกันจำกัด
ชาวสวนเกษตรกรควรตรวจสอบแปลงเพาะปลูกให้มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดของเชื้อราก่อโรคและเป็นที่อาศัยของแมลง
ตัดแต่งกิ่งให้มีความปลอดโปร่งกิ่งไม่ทับซ้อนกันและไม่แออัดกันจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดการก่อโรคของเชื้อราได้
ตรวจสอบบริเวณโคนต้นเพราะอาจเป็นแหล่งที่อยู่ของเชื้อราก่อโรค
ทำการตัดส่วนที่เป็นโรคไปเผาทำลาย
โรคผลเน่า เชื้อรา Phytophthora palmivora
โรคผลเน่า คือเชื้อราที่มีลักษณะอาการเดียวกับ โรครากเน่าโคนเน่า โดยจะเชื้อราจะเข้าทำลายได้ตั้งแต่ส่วนของ ราก ลำต้น และส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสามารถเข้าทำลายในช่วงของระยะผลอ่อนไปถึงระยะผลแก่ การเข้าทำลายนั้นจะแสดงอาการคือ ลักษณะของผลจะมีรอยช้ำ เป็นหย่อมๆทั่วบริเวณของผลจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อราก่อโรค เชื้อราสามารถแพร่กระจายและลุกลามไปได้ไว ไม่เพียงแต่จะทำลายส่วนของผิวเปลือกแต่สามารถเข้าทำลายไปเนื้อของพืชได้
เชื้อรา Phytophthora palmivora
ลักษณะอาการของโรคผลเน่าในทุเรียน
โรคผลเน่า คือเชื้อราที่มีลักษณะอาการเดียวกับ โรครากเน่าโคนเน่า โดยจะเชื้อราจะเข้าทำลายได้ตั้งแต่ส่วนของ ราก ลำต้น และส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสามารถเข้าทำลายในช่วงของระยะผลอ่อนไปถึงระยะผลแก่ การเข้าทำลายนั้นจะแสดงอาการคือ ลักษณะของผลจะมีรอยช้ำ เป็นหย่อมๆทั่วบริเวณของผลจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อราก่อโรค เชื้อราสามารถแพร่กระจายและลุกลามไปได้ไว ไม่เพียงแต่จะทำลายส่วนของผิวเปลือกแต่สามารถเข้าทำลายไปเนื้อของพืชได้
การแพร่ระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า
เชื้อราไฟทอปธอร่าเป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินและยังทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง แต่เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมหรือมีอาหารสะสมที่เพียงพอ เชื้อราจะขยายพันธุ์และสร้างเส้นใยเข้าไปตามระบบรากพืชและพัฒนาสร้างเส้นใยขยายตัวภายในพืชทำให้ระบบโครงสร้างของรากทุเรียนเน่า ในสภาวะที่มีความชื้นสูงและฝนตกชุก เชื้อราจะแพร่โดยการกระเซ็นไปยังบริเวณโคนต้นหรือบริเวณต้นทุเรียนที่อยู่รอบๆ ถ้าเชื้อราอยู่ที่บริเวณใบก็จะกระเซ็นติดกันได้ อุณหภูมิก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เชื้อราไฟทอปธอร่าเจริญได้ดีในอุณหภูมิ 11-35
การป้องกันจำกัด
ชาวสวนเกษตรกรควรตรวจสอบแปลงเพาะปลูกให้มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดของเชื้อราก่อโรคและเป็นที่อาศัยของแมลง
ตัดแต่งกิ่งให้มีความปลอดโปร่งกิ่งไม่ทับซ้อนกันและไม่แออัดกันจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดการก่อโรคของเชื้อราได้
ตรวจสอบบริเวณโคนต้นเพราะอาจเป็นแหล่งที่อยู่ของเชื้อราก่อโรค
ทำการตัดส่วนที่เป็นโรคไปเผาทำลาย
โรคผลเน่า เชื้อรา Phytophthora palmivora
โรคผลเน่า คือเชื้อราที่มีลักษณะอาการเดียวกับ โรครากเน่าโคนเน่า โดยจะเชื้อราจะเข้าทำลายได้ตั้งแต่ส่วนของ ราก ลำต้น และส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสามารถเข้าทำลายในช่วงของระยะผลอ่อนไปถึงระยะผลแก่ การเข้าทำลายนั้นจะแสดงอาการคือ ลักษณะของผลจะมีรอยช้ำ เป็นหย่อมๆทั่วบริเวณของผลจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อราก่อโรค เชื้อราสามารถแพร่กระจายและลุกลามไปได้ไว ไม่เพียงแต่จะทำลายส่วนของผิวเปลือกแต่สามารถเข้าทำลายไปเนื้อของพืชได้
เชื้อรา Phytophthora palmivora
ลักษณะอาการของโรคผลเน่าในทุเรียน
โรคผลเน่า คือเชื้อราที่มีลักษณะอาการเดียวกับ โรครากเน่าโคนเน่า โดยจะเชื้อราจะเข้าทำลายได้ตั้งแต่ส่วนของ ราก ลำต้น และส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสามารถเข้าทำลายในช่วงของระยะผลอ่อนไปถึงระยะผลแก่ การเข้าทำลายนั้นจะแสดงอาการคือ ลักษณะของผลจะมีรอยช้ำ เป็นหย่อมๆทั่วบริเวณของผลจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อราก่อโรค เชื้อราสามารถแพร่กระจายและลุกลามไปได้ไว ไม่เพียงแต่จะทำลายส่วนของผิวเปลือกแต่สามารถเข้าทำลายไปเนื้อของพืชได้
การแพร่ระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า
เชื้อราไฟทอปธอร่าเป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินและยังทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง แต่เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมหรือมีอาหารสะสมที่เพียงพอ เชื้อราจะขยายพันธุ์และสร้างเส้นใยเข้าไปตามระบบรากพืชและพัฒนาสร้างเส้นใยขยายตัวภายในพืชทำให้ระบบโครงสร้างของรากทุเรียนเน่า ในสภาวะที่มีความชื้นสูงและฝนตกชุก เชื้อราจะแพร่โดยการกระเซ็นไปยังบริเวณโคนต้นหรือบริเวณต้นทุเรียนที่อยู่รอบๆ ถ้าเชื้อราอยู่ที่บริเวณใบก็จะกระเซ็นติดกันได้ อุณหภูมิก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เชื้อราไฟทอปธอร่าเจริญได้ดีในอุณหภูมิ 11-35
การป้องกันจำกัด
ชาวสวนเกษตรกรควรตรวจสอบแปลงเพาะปลูกให้มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดของเชื้อราก่อโรคและเป็นที่อาศัยของแมลง
ตัดแต่งกิ่งให้มีความปลอดโปร่งกิ่งไม่ทับซ้อนกันและไม่แออัดกันจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดการก่อโรคของเชื้อราได้
ตรวจสอบบริเวณโคนต้นเพราะอาจเป็นแหล่งที่อยู่ของเชื้อราก่อโรค
ทำการตัดส่วนที่เป็นโรคไปเผาทำลาย
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210
ติดตามเรา
บทความที่น่าสนใจ
• คำแนะนำในการปลูกทุเรียน
• ธาตุอาหารหลักในทุเรียน
• ดินที่เหมาะสมกับการปลูกทุเรียน
• สาเหตุที่ทำให้ทุเรียนไม่ติดดอก
• พันธุ์ทุเรียนในประเทศไทย
ติดต่อเรา
095 198 9459
turianyimm@gmail.com
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม By ทุเรียนยิ้ม
@turianyim
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
29/27 ตำบลชากไทย
อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210
ติดตามเรา
บทความที่น่าสนใจ
• คำแนะนำในการปลูกทุเรียน
• ธาตุอาหารหลักในทุเรียน
• ดินที่เหมาะสมกับการปลูกทุเรียน
• สาเหตุที่ทำให้ทุเรียนไม่ติดดอก
• พันธุ์ทุเรียนในประเทศไทย
ติดต่อเรา
095 198 9459
turianyimm@gmail.com
ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม By ทุเรียนยิ้ม
@turianyim
ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม
จำนวนคนดู:
525