ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยจุลินทรีย์

หมายถึงการนำเอาจุลินทรีย์มาใช้ปรับปรุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพทางเคมีชีวะและการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ ตลอดจนการปลดปล่อยธาตุอาหารจากพืชอินทรีย์หรือจากอินทรียวัตถุ ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ ไม่ใช่การเสริมธาตุอาหารลงในดินโดยตรง แต่อาศัยความสามารถของจุลินทรีย์ที่จะช่วยสร้างธาตุอาหารให้แก่พืชในระยะยาว หรือเปลี่ยนองค์ประกอบบางอย่างที่มีอยู่แล้วให้กลายเป็นสิ่งที่พืชนำ ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยแบ่งได้ 2 ประเภท

1. ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์สร้างธาตุอาหารพืช

จุลินทรีย์ที่สามารถสร้างธาตุอาหารพืชได้ในปัจจุบันพบเพียงกลุ่มเดียว คือกลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจนประกอบด้วยแบคทีเรียและแอคติโนมัยซีท แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์กับพืชอาศัยได้ 2 กลุ่ม

1.ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ ร่วมกับพืชแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (symbiotic nitrogen fixation) ปุ๋ยชีวภาพกลุ่มนี้มีแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงมากเป็นน ส่วนประกอบสามารถทดแทนปุ๋ยเคมีไนโตรเจนให้กับพืชอาศัยได้มากกว่า50–100 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดและสายพันธุ์ของจุลินทรีย์ ชนิดของพืชอาศัยรวมทั้งระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน

2.ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ ร่วมกับพืชแบบอิสระ(non-symbioticnitrogen fixation) แบคทีเรียกลุ่มนี้มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนต่ำจึงสามารถทดแทนปุ๋ยไนโตรเจนให้กับพืชขึ้นอยู่กับสกุลของจุลินทรีย์ชนิดของพืชอาศัยและระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน

2. ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ทําให้ธาตุอาหารเป็นประโยชน์กับพืช

ปุ๋ยชีวภาพในกลุ่มนี้จะช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช บางชนิดที่ถูกตรึงอยู่ในดินในรูปที่พืชไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ให้เป็น ประโยชน์กับพืชได้มากขึ้น แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ

1.ปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซา ประกอบด้วยกลุ่มราไมคอร์ไรซาที่ช่วย เพิ่มศักยภาพในการดูดใช้ธาตุอาหารให้แก่พืช โดยจะสร้างเส้นใยเข้าไปในรากและเส้นใยบางส่วนจะเจริญอยู่ในดินบริเวณรอบรากพืช ช่วยดูดธาตุอาหารต่าง ๆ และละลายฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงอยู่ในดินแล้วส่งผ่านธาตุอาหารไปทางเส้นใยราเข้าสู่รากพืช

2.ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ช่วยเพิ่ม ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสโดยการสร้างและปลดปล่อยกรดอินทรีย์และกรดอนินทรีย์ออกมานอกเซลล์เพื่อละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตที่ไม่ เป็นประโยชน์ต่อพืชและสะสมในดิน นอกจากนี้ยังสร้างและปลดปล่อยเอนไซม์ บางชนิดออกมานอกเซลล์เพื่อย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟตที่อยู่ในดิน

3.ปุ๋ยชีวภาพละลายโพแทสเซียม ประกอบด้วยจุลินทรีย์ช่วย เพิ่มความเป็นประโยชน์ของโพแทสเซียม ได้แก่ สกุลบาร์ซิลลัส(Bacillus) สกุลคลาโดสปอรออยเดส(Cladosporioides) สกุลคลาโดสปอเรียม(Cladosporium) สกุลคลอสทริเดียม(Clostridium) สกุลเพนนิซเลียม(Penicillium) และสกุล ไทโอบาร์ซิลลัส(Thiobacillus) เป็นต้น โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะสร้างกรดอินทรีย์ และอนินทรีย์ออกมาละลายโพแทสเซียมออกจากการตรึงของแร่ดินเหนียวบางชนิดจึงสามารถใช้เป็นจุลินทรีย์สําหรับผลิตปุ๋ยชีวภาพได้

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตที่มี ประสิทธิภาพสูงในการละลายสารประกอบอนินทรีย์และอินทรีย์ฟอสเฟต ฟอสฟอรัสที่สะสมในดินส่วนใหญ่อยู่ในรูปสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟตโดยปกติจุลินทรีย์ในดินจะสร้างเอนไซม์ไฟเตส (phytase) เพื่อย่อยสลายไฟเตทและปลดปล่อยฟอสฟอรัสซึ่งพืชสามารถนําไปใช้เพื่อการเจริญเติบโต จุลินทรีย์บางกลุ่มมีความสามารถละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตโดยสร้างและปลดปล่อยกรดอินทรีย์ เช่น กรดฟอร์มิก กรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิกและกรดอนินทรีย์ ได้้แก่ กรดไนตริกและกรด ซัลฟูริกออกมานอกเซลล์เพื่อละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตที่อยู่ในดิน ให้เป็นฟอสฟอรัสที่ละลายอยู่ในสารละลายดิน ทําให้พืชสามารถใช้ประโยชน์ได้ซึ่งเป็นการช่วยลดการใส่ปุ๋ยเคมีฟอสเฟตและทําให้ต้นทุนการเพาะปลูกพืชลดลงด้วย

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ละลาย

ปัจจุบันการผลิตปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตนิยมใช้จุลินทรีย์ในสกุล บาซิลลัส (Bacillus)แอสเพอร์จิลลัส (Aspergillus) และเพนนิซิลเลียม (Penicillium) เนื่องจากเป็นจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการละลายฟอสเฟต และสามารถสร้างสปอร์ทําให้มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ดี

ประโยชน์ที่ได้จากการใช้ปุ่ยชีวภาพละลายฟอสเฟตในการผลิตพืช

1. ช่วยละลายฟอสเฟตที่ถูกตรึงไว้ในดินซึ่งไม่เป็นประโยชน์ต่อพืชจึงสามารถลดการใช้ปุ๋ยฟอสเฟตได้ 25–50 เปอร์เซ็นต์
2. ช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของหินฟอสเฟต
3. ช่วยให้พืชมีความแข็งแรงป้องกันการเข้าทําลายของเชื้อสาเหตุโรครากเน่าหรือโคนเน่าจากเชื้อราในดิน
4. เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตพืช

อ้างอิง

กรมวิชาการเกษตร. 2535. การใช้เชื้อไรโซเบียมเพื่อเพิ่มผลผลิตให้แก่พืชตระกูลถั่ว.กองปฐพีวิทยา
กรมวิชาการเกษตรกรมวิชาการเกษตร. 2548. ปุ๋ยชีวภาพและผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ.
ธงชัย มาลา. 2550. ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ : เทคนิคการผลิตและการใช้ประโยชน์

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม-ปุ๋ยชีวภาพ

ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยจุลินทรีย์

หมายถึงการนำเอาจุลินทรีย์มาใช้ปรับปรุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพทางเคมีชีวะและการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ ตลอดจนการปลดปล่อยธาตุอาหารจากพืชอินทรีย์หรือจากอินทรียวัตถุ ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ ไม่ใช่การเสริมธาตุอาหารลงในดินโดยตรง แต่อาศัยความสามารถของจุลินทรีย์ที่จะช่วยสร้างธาตุอาหารให้แก่พืชในระยะยาว หรือเปลี่ยนองค์ประกอบบางอย่างที่มีอยู่แล้วให้กลายเป็นสิ่งที่พืชนำ ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยแบ่งได้ 2 ประเภท

1. ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์สร้างธาตุอาหารพืช

จุลินทรีย์ที่สามารถสร้างธาตุอาหารพืชได้ในปัจจุบันพบเพียงกลุ่มเดียว คือ กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจนประกอบด้วยแบคทีเรียและแอคติโนมัยซีท แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์กับพืชอาศัยได้ 2 กลุ่ม

1.ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ร่วมกับพืชแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (symbiotic nitrogen fixation) ปุ๋ยชีวภาพกลุ่มนี้มีแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงมากเป็นส่วนประกอบสามารถทดแทนปุ๋ยเคมีไนโตรเจนให้กับพืชอาศัยได้มากกว่า 50–100 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดและสายพันธุ์ของจุลินทรีย์ ชนิดของพืชอาศัยรวมทั้งระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน

2.ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ ร่วมกับพืชแบบอิสระ(non-symbioticnitrogen fixation)แบคทีเรียกลุ่มนี้มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนต่ำจึงสามารถทดแทนปุ๋ยไนโตรเจนให้กับพืชขึ้นอยู่กับสกุลของจุลินทรีย์ชนิดของพืชอาศัยและระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน

2. ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ทําให้ธาตุอาหารเป็นประโยชน์กับพืช

ปุ๋ยชีวภาพในกลุ่มนี้จะช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชบางชนิดที่ถูกตรึงอยู่ในดินในรูปที่พืชไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ให้เป็น ประโยชน์กับพืชได้มากขึ้น แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ

1.ปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซาประกอบด้วยกลุ่มราไมคอร์ไรซาที่ช่วย เพิ่มศักยภาพในการดูดใช้ธาตุอาหารให้แก่พืช โดยจะสร้างเส้นใยเข้าไปในรากและเส้นใยบางส่วนจะเจริญอยู่ในดินบริเวณรอบรากพืชช่วยดูดธาตุอาหารต่างๆ และละลายฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงอยู่ในดินแล้วส่งผ่านธาตุอาหารไปทางเส้นใยราเข้าสู่รากพืช

2.ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ช่วยเพิ่ม ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสโดยการสร้างและปลดปล่อยกรดอินทรีย์และกรดอนินทรีย์ออกมานอกเซลล์เพื่อละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตที่ไม่ เป็นประโยชน์ต่อพืชและสะสมในดิน นอกจากนี้ยังสร้างและปลดปล่อยเอนไซม์ บางชนิดออกมานอกเซลล์เพื่อย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟตที่อยู่ในดิน

3.ปุ๋ยชีวภาพละลายโพแทสเซียม ประกอบด้วยจุลินทรีย์ช่วย เพิ่มความเป็นประโยชน์ของโพแทสเซียม ได้แก่ สกุลบาร์ซิลลัส(Bacillus) สกุลคลาโดสปอรอยเดส(Cladosporioides) สกุลคลาโดสปอเรียม(Cladosporium) สกุลคลอสทริเดียม(Clostridium) สกุลเพนนิซเลียม(Penicillium) และสกุล ไทโอบาร์ซิลลัส(Thiobacillus) เป็นต้น โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะสร้างกรดอินทรีย์ และอนินทรีย์ออกมาละลายโพแทสเซียมออกจากการตรึงของแร่ดินเหนียวบางชนิดจึงสามารถใช้เป็นจุลินทรีย์สําหรับผลิตปุ๋ยชีวภาพได้

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตที่มี ประสิทธิภาพสูงในการละลายสารประกอบอนินทรีย์และอินทรีย์ฟอสเฟต ฟอสฟอรัสที่สะสมในดินส่วนใหญ่อยู่ในรูปสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟตโดยปกติจุลินทรีย์ในดินจะสร้างเอนไซม์ไฟเตส (phytase) เพื่อย่อยสลายไฟเตทและปลดปล่อยฟอสฟอรัสซึ่งพืชสามารถนําไปใช้เพื่อการเจริญเติบโต จุลินทรีย์บางกลุ่มมีความสามารถละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตโดยสร้างและปลดปล่อยกรดอินทรีย์ เช่น กรดฟอร์มิก กรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิกและกรดอนินทรีย์ ได้้แก่ กรดไนตริกและกรด ซัลฟูริกออกมานอกเซลล์เพื่อละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตที่อยู่ในดิน ให้เป็นฟอสฟอรัสที่ละลายอยู่ในสารละลายดิน ทําให้พืชสามารถใช้ประโยชน์ได้ซึ่งเป็นการช่วยลดการใส่ปุ๋ยเคมีฟอสเฟตและทําให้ต้นทุนการเพาะปลูกพืชลดลงด้วย

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ละลาย

ปัจจุบันการผลิตปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตนิยมใช้จุลินทรีย์ในสกุล บาซิลลัส (Bacillus)แอสเพอร์จิลลัส (Aspergillus) และเพนนิซิลเลียม (Penicillium) เนื่องจากเป็นจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการละลายฟอสเฟต และสามารถสร้างสปอร์ทําให้มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ดี

ประโยชน์ที่ได้จากการใช้ปุ่ยชีวภาพละลายฟอสเฟตในการผลิตพืช

1. ช่วยละลายฟอสเฟตที่ถูกตรึงไว้ในดินซึ่งไม่เป็นประโยชน์ต่อพืชจึงสามารถลดการใช้ปุ๋ยฟอสเฟตได้ 25–50 เปอร์เซ็นต์
2. ช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของหินฟอสเฟต
3. ช่วยให้พืชมีความแข็งแรงป้องกันการเข้าทําลายของเชื้อสาเหตุโรครากเน่าหรือโคนเน่าจากเชื้อราในดิน
4. เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตพืช

อ้างอิง

กรมวิชาการเกษตร. 2535. การใช้เชื้อไรโซเบียมเพื่อเพิ่มผลผลิตให้แก่พืชตระกูลถั่ว.กองปฐพีวิทยา
กรมวิชาการเกษตรกรมวิชาการเกษตร. 2548. ปุ๋ยชีวภาพและผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ.
ธงชัย มาลา. 2550. ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ : เทคนิคการผลิตและการใช้ประโยชน์

ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยจุลินทรีย์

หมายถึงการนำเอาจุลินทรีย์มาใช้ปรับปรุงดินทางชีวภาพทางกายภาพทางเคมีชีวะและการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุตลอดจนการปลดปล่อยธาตุอาหารจากพืชอินทรีย์หรือจากอินทรียวัตถุประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ ไม่ใช่การเสริมธาตุอาหารลงในดินโดยตรง แต่อาศัยความสามารถของจุลินทรีย์ที่จะช่วยสร้างธาตุอาหารให้แก่พืชในระยะยาว หรือเปลี่ยนองค์ประกอบบางอย่างที่มีอยู่แล้วให้กลายเป็นสิ่งที่พืชนำ ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยแบ่งได้ 2 ประเภท

1. ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์สร้างธาตุอาหารพืช

จุลินทรีย์ที่สามารถสร้างธาตุอาหารพืชได้ในปัจจุบันพบเพียงกลุ่มเดียว คือ กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจนประกอบด้วยแบคทีเรียและแอคติโนมัยซีท แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์กับพืชอาศัยได้ 2 กลุ่ม

1.ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ร่วมกับพืชแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (symbiotic nitrogen fixation) ปุ๋ยชีวภาพกลุ่มนี้มีแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงมากเป็นน ส่วนประกอบสามารถทดแทนปุ๋ยเคมีไนโตรเจนให้กับพืชอาศัยได้มากกว่า 50–100 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดและสายพันธุ์ของจุลินทรีย์ ชนิดของพืชอาศัยรวมทั้งระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน

2.ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนที่อาศัยอยู่ร่วมกับพืชแบบอิสระ(non-symbioticnitrogen fixation) แบคทีเรียกลุ่มนี้มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนต่ำจึงสามารถทดแทนปุ๋ยไนโตรเจนให้กับพืชขึ้นอยู่กับสกุลของจุลินทรีย์ชนิดของพืชอาศัยและระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน

2. ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ทําให้ธาตุอาหารเป็นประโยชน์กับพืช

ปุ๋ยชีวภาพในกลุ่มนี้จะช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชบางชนิดที่ถูกตรึงอยู่ในดินในรูปที่พืชไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ให้เป็น ประโยชน์กับพืชได้มากขึ้น แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ

1.ปุ๋ยชีวภาพไมคอร์ไรซาประกอบด้วยกลุ่มราไมคอร์ไรซาที่ช่วย เพิ่มศักยภาพในการดูดใช้ธาตุอาหารให้แก่พืช โดยจะสร้างเส้นใยเข้าไปในรากและเส้นใยบางส่วนจะเจริญอยู่ในดินบริเวณรอบรากพืชช่วยดูดธาตุอาหารต่างๆ และละลายฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงอยู่ในดินแล้วส่งผ่านธาตุอาหารไปทางเส้นใยราเข้าสู่รากพืช

2.ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ช่วยเพิ่ม ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสโดยการสร้างและปลดปล่อยกรดอินทรีย์และกรดอนินทรีย์ออกมานอกเซลล์เพื่อละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตที่ไม่ เป็นประโยชน์ต่อพืชและสะสมในดิน นอกจากนี้ยังสร้างและปลดปล่อยเอนไซม์ บางชนิดออกมานอกเซลล์เพื่อย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟตที่อยู่ในดิน

3.ปุ๋ยชีวภาพละลายโพแทสเซียม ประกอบด้วยจุลินทรีย์ช่วย เพิ่มความเป็นประโยชน์ของโพแทสเซียม ได้แก่ สกุลบาร์ซิลลัส(Bacillus) สกุลคลาโดสปอรออยเดส(Cladosporioides) สกุลคลาโดสปอเรียม(Cladosporium) สกุลคลอสทริเดียม(Clostridium) สกุลเพนนิซเลียม(Penicillium) และสกุล ไทโอบาร์ซิลลัส(Thiobacillus) เป็นต้น โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะสร้างกรดอินทรีย์ และอนินทรีย์ออกมาละลายโพแทสเซียมออกจากการตรึงของแร่ดินเหนียวบางชนิดจึงสามารถใช้เป็นจุลินทรีย์สําหรับผลิตปุ๋ยชีวภาพได้

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตที่มี ประสิทธิภาพสูงในการละลายสารประกอบอนินทรีย์และอินทรีย์ฟอสเฟต ฟอสฟอรัสที่สะสมในดินส่วนใหญ่อยู่ในรูปสารประกอบอินทรีย์ฟอสเฟตโดยปกติจุลินทรีย์ในดินจะสร้างเอนไซม์ไฟเตส (phytase) เพื่อย่อยสลายไฟเตทและปลดปล่อยฟอสฟอรัสซึ่งพืชสามารถนําไปใช้เพื่อการเจริญเติบโต จุลินทรีย์บางกลุ่มมีความสามารถละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตโดยสร้างและปลดปล่อยกรดอินทรีย์ เช่น กรดฟอร์มิก กรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิกและกรดอนินทรีย์ ได้้แก่ กรดไนตริกและกรด ซัลฟูริกออกมานอกเซลล์เพื่อละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตที่อยู่ในดิน ให้เป็นฟอสฟอรัสที่ละลายอยู่ในสารละลายดิน ทําให้พืชสามารถใช้ประโยชน์ได้ซึ่งเป็นการช่วยลดการใส่ปุ๋ยเคมีฟอสเฟตและทําให้ต้นทุนการเพาะปลูกพืชลดลงด้วย

ปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟต ประกอบด้วยจุลินทรีย์ละลาย

ปัจจุบันการผลิตปุ๋ยชีวภาพละลายฟอสเฟตนิยมใช้จุลินทรีย์ในสกุล บาซิลลัส (Bacillus)แอสเพอร์จิลลัส (Aspergillus) และเพนนิซิลเลียม (Penicillium) เนื่องจากเป็นจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการละลายฟอสเฟต และสามารถสร้างสปอร์ทําให้มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ดี

ประโยชน์ที่ได้จากการใช้ปุ่ยชีวภาพละลายฟอสเฟตในการผลิตพืช

1. ช่วยละลายฟอสเฟตที่ถูกตรึงไว้ในดินซึ่งไม่เป็นประโยชน์ต่อพืชจึงสามารถลดการใช้ปุ๋ยฟอสเฟตได้ 25–50 เปอร์เซ็นต์
2. ช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของหินฟอสเฟต
3. ช่วยให้พืชมีความแข็งแรงป้องกันการเข้าทําลายของเชื้อสาเหตุโรครากเน่าหรือโคนเน่าจากเชื้อราในดิน
4. เพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตพืช

อ้างอิง

กรมวิชาการเกษตร. 2535. การใช้เชื้อไรโซเบียมเพื่อเพิ่มผลผลิตให้แก่พืชตระกูลถั่ว.กองปฐพีวิทยา
กรมวิชาการเกษตรกรมวิชาการเกษตร. 2548. ปุ๋ยชีวภาพและผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ.
ธงชัย มาลา. 2550. ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ : เทคนิคการผลิตและการใช้ประโยชน์

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

จำนวนคนดู: 742