ใบ (Leaf)

ใบเป็นรยางค์ที่ของพืชเจริญออกไปทางด้านข้าง โดยมีตำแหน่งอยู่ที่ข้อของลำต้นและกิ่ง ใบส่วนใหญ่มีสีเขียวของคลอโรฟิลล์หน้าที่หลักของใบ คือ   การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ และคายน้ำ นอกจากนี้ใบยังอาจเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่พิเศษอื่นๆ เช่น สะสมอาหาร ขยายพันธุ์ช่วยยึดและค้ำจุนลำต้นป้องกันยอดอ่อนและใบอ่อนกับดักแมลง เป็นต้น

ใบทุเรียน

ส่วนประกอบของใบ

ใบประกอบด้วยแผ่นใบ (blade หรือ lammina) ก้านใบ (petiole หรือ leaf) และหูใบ (stipule) แผ่นใบ ลักษณะเป็นแผ่นแบนบาง ภายในแผ่นใบมีคลอโรพลาสต์ ช่วยให้สร้างอาหารได้แผ่นใบมีขนาด รูปร่าง และเนื้อใบแตกต่างกัน แผ่นใบประกอบด้วยเส้นกลางใบ เส้นใบ ปลายใบ โคนใบ ขอบใบ

ก้านใบ เป็นส่วนที่ยึดแผ่นใบให้ติดกับลำต้น ก้านใบติดกับแผ่นใบตรงโคนใบ ยกเว้นบางชนิดก้านใบติดลึกเข้ามาจากโคนใบ เช่น ใบบัว พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด ตอนโคนของก้านใบหรือก้านใบทั้งหมดแผ่เป็นกาบหุ้มลำตัส เรียกว่า กาบใบ พืชบางชนิดกาบใบอัดแน่นมองคล้ายลำต้น เรียกว่า ลำต้นเทียม เช่น กล้วย ขิง ข่า

หูใบ เป็นรยางค์หนึ่งคู่ที่มีลักษณะคล้ายใบขนาดเล็กติดอยู่ตรงโคนก้านใบ หูใบมีรูปร่างแตกต่างกัน ตามชนิดของพืช พืชที่มีหูใบ เช่น ใบจำปาดะ พืชบางชนิดอาจไม่มีหูใบ เช่น ใบมะม่วง ใบแท้ที่สมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยแผ่นใบ ก้านใบ และหูใบ ครบทั้ง 3 ส่วน เช่น ใบขนุน ใบที่ไม่สมบูรณ์คือใบที่ขาดส่วนใดส่วนหนึ่งดังกล่าว เช่น ใบกระถินณรงค์ไม่มัแผ่นใบ ใบมะม่วง ไม่มีหูใบ ใบวาสนา ไม่มีก้านใบ

ปากใบพืช

พืชจะมีส่วนของแผ่นใบ (blade) ที่แผ่ขยายออกไป และมีก้านใบ (petiole) เชื่อมอยู่กับลำต้นหรือกิ่ง ใบที่แผ่ออกไปเป็นการเพิ่มพื้นที่ในการรับแสง เพื่อนำไปใช้เป็นพลังงานในกระบวนการสังเคราะห์แสง (photosynthesis)

มีหน้าที่สำคัญคือเป็นทางเข้าออกของน้ำและอากาศของพืชโดยตรง ซึ่งปากใบของพืชส่วนใหญ่จะอยู่ทางด้านล่างผิวใบของพืช เพราะเป็นที่รู้จักกัน คือพืชต่างๆจะสังเคราะห์แสงได้ดีในช่วงที่มีแสงแดดมาก ปากใบจึงต้องอยู่ด้านล่างของพืช และผิวใบด้านบนของพืชก็จะมีสารคิวทินเคลือบอยู่หนา ซึ่งก็จะช่วยลดการคายน้ำออกทางปากใบพืชได้อีกทางหนึ่ง

ปากใบเปิด

ปากใบปิด

ใบ (Leaf)

ใบเป็นรยางค์ที่ของพืชเจริญออกไปทางด้านข้าง โดยมีตำแหน่งอยู่ที่ข้อของลำต้นและกิ่ง ใบส่วนใหญ่มีสีเขียวของคลอโรฟิลล์หน้าที่หลักของใบ คือ   การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ และคายน้ำ นอกจากนี้ใบยังอาจเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่พิเศษอื่นๆ เช่น สะสมอาหาร ขยายพันธุ์ช่วยยึดและค้ำจุนลำต้นป้องกันยอดอ่อนและใบอ่อนกับดักแมลง เป็นต้น

ใบทุเรียน

ส่วนประกอบของใบ

ใบประกอบด้วยแผ่นใบ (blade หรือ lammina) ก้านใบ (petiole หรือ leaf) และหูใบ (stipule) แผ่นใบ ลักษณะเป็นแผ่นแบนบาง ภายในแผ่นใบมีคลอโรพลาสต์ ช่วยให้สร้างอาหารได้แผ่นใบมีขนาด รูปร่าง และเนื้อใบแตกต่างกัน แผ่นใบประกอบด้วยเส้นกลางใบ เส้นใบ ปลายใบ โคนใบ ขอบใบ

ก้านใบ เป็นส่วนที่ยึดแผ่นใบให้ติดกับลำต้น ก้านใบติดกับแผ่นใบตรงโคนใบ ยกเว้นบางชนิดก้านใบติดลึกเข้ามาจากโคนใบ เช่น ใบบัว พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด ตอนโคนของก้านใบหรือก้านใบทั้งหมดแผ่เป็นกาบหุ้มลำตัส เรียกว่า กาบใบ พืชบางชนิดกาบใบอัดแน่นมองคล้ายลำต้น เรียกว่า ลำต้นเทียม เช่น กล้วย ขิง ข่า

หูใบ เป็นรยางค์หนึ่งคู่ที่มีลักษณะคล้ายใบขนาดเล็กติดอยู่ตรงโคนก้านใบ หูใบมีรูปร่างแตกต่างกัน ตามชนิดของพืช พืชที่มีหูใบ เช่น ใบจำปาดะ พืชบางชนิดอาจไม่มีหูใบ เช่น ใบมะม่วง ใบแท้ที่สมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยแผ่นใบ ก้านใบ และหูใบ ครบทั้ง 3 ส่วน เช่น ใบขนุน ใบที่ไม่สมบูรณ์คือใบที่ขาดส่วนใดส่วนหนึ่งดังกล่าว เช่น ใบกระถินณรงค์ไม่มัแผ่นใบ ใบมะม่วง ไม่มีหูใบ ใบวาสนา ไม่มีก้านใบ

ส่วนประกอบของใบทุเรียน
ก้านใบทุเรียน

ปากใบพืช

พืชจะมีส่วนของแผ่นใบ (blade) ที่แผ่ขยายออกไป และมีก้านใบ (petiole) เชื่อมอยู่กับลำต้นหรือกิ่ง ใบที่แผ่ออกไปเป็นการเพิ่มพื้นที่ในการรับแสง เพื่อนำไปใช้เป็นพลังงานในกระบวนการสังเคราะห์แสง (photosynthesis)

มีหน้าที่สำคัญคือเป็นทางเข้าออกของน้ำและอากาศของพืชโดยตรง ซึ่งปากใบของพืชส่วนใหญ่จะอยู่ทางด้านล่างผิวใบของพืช เพราะเป็นที่รู้จักกัน คือพืชต่างๆจะสังเคราะห์แสงได้ดีในช่วงที่มีแสงแดดมาก ปากใบจึงต้องอยู่ด้านล่างของพืช และผิวใบด้านบนของพืชก็จะมีสารคิวทินเคลือบอยู่หนา ซึ่งก็จะช่วยลดการคายน้ำออกทางปากใบพืชได้อีกทางหนึ่ง

ปากใบเปิด

ปากใบปิด

ใบ (Leaf)

ใบเป็นรยางค์ที่ของพืชเจริญออกไปทางด้านข้าง โดยมีตำแหน่งอยู่ที่ข้อของลำต้นและกิ่ง ใบส่วนใหญ่มีสีเขียวของคลอโรฟิลล์หน้าที่หลักของใบ คือ การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ และคายน้ำ นอกจากนี้ใบยังอาจเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่พิเศษอื่นๆ เช่น สะสมอาหาร ขยายพันธุ์ช่วยยึดและค้ำจุนลำต้นป้องกันยอดอ่อนและใบอ่อนกับดักแมลง เป็นต้น

ใบทุเรียน

ส่วนประกอบของใบ

ใบประกอบด้วยแผ่นใบ (blade หรือ lammina) ก้านใบ (petiole หรือ leaf) และหูใบ (stipule) แผ่นใบ ลักษณะเป็นแผ่นแบนบาง ภายในแผ่นใบมีคลอโรพลาสต์ ช่วยให้สร้างอาหารได้แผ่นใบมีขนาด รูปร่าง และเนื้อใบแตกต่างกัน แผ่นใบประกอบด้วยเส้นกลางใบ เส้นใบ ปลายใบ โคนใบ ขอบใบ

ก้านใบ เป็นส่วนที่ยึดแผ่นใบให้ติดกับลำต้น ก้านใบติดกับแผ่นใบตรงโคนใบ ยกเว้นบางชนิดก้านใบติดลึกเข้ามาจากโคนใบ เช่น ใบบัว พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด ตอนโคนของก้านใบหรือก้านใบทั้งหมดแผ่เป็นกาบหุ้มลำตัส เรียกว่า กาบใบ พืชบางชนิดกาบใบอัดแน่นมองคล้ายลำต้น เรียกว่า ลำต้นเทียม เช่น กล้วย ขิง ข่า

หูใบ เป็นรยางค์หนึ่งคู่ที่มีลักษณะคล้ายใบขนาดเล็กติดอยู่ตรงโคนก้านใบ หูใบมีรูปร่างแตกต่างกัน ตามชนิดของพืช พืชที่มีหูใบ เช่น ใบจำปาดะ พืชบางชนิดอาจไม่มีหูใบ เช่น ใบมะม่วง ใบแท้ที่สมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยแผ่นใบ ก้านใบ และหูใบ ครบทั้ง 3 ส่วน เช่น ใบขนุน ใบที่ไม่สมบูรณ์คือใบที่ขาดส่วนใดส่วนหนึ่งดังกล่าว เช่น ใบกระถินณรงค์ไม่มัแผ่นใบ ใบมะม่วง ไม่มีหูใบ ใบวาสนา ไม่มีก้านใบ

ส่วนประกอบของใบทุเรียน
ก้านใบทุเรียน

ปากใบพืช

พืชจะมีส่วนของแผ่นใบ (blade) ที่แผ่ขยายออกไป และมีก้านใบ (petiole) เชื่อมอยู่กับลำต้นหรือกิ่ง ใบที่แผ่ออกไปเป็นการเพิ่มพื้นที่ในการรับแสง เพื่อนำไปใช้เป็นพลังงานในกระบวนการสังเคราะห์แสง (photosynthesis)

มีหน้าที่สำคัญคือเป็นทางเข้าออกของน้ำและอากาศของพืชโดยตรง ซึ่งปากใบของพืชส่วนใหญ่จะอยู่ทางด้านล่างผิวใบของพืช เพราะเป็นที่รู้จักกัน คือพืชต่างๆจะสังเคราะห์แสงได้ดีในช่วงที่มีแสงแดดมาก ปากใบจึงต้องอยู่ด้านล่างของพืช และผิวใบด้านบนของพืชก็จะมีสารคิวทินเคลือบอยู่หนา ซึ่งก็จะช่วยลดการคายน้ำออกทางปากใบพืชได้อีกทางหนึ่ง

ปากใบเปิด

ปากใบปิด

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

ติดตาม ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

ปุ๋ยทุเรียนยิ้ม

29/27 ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ
จังหวัดจันทบุรี 22210

ติดตามเรา

ติดต่อเรา

@turianyim
จำนวนคนดู: 878